520 likes | 738 Views
Train The Trainer. Flash MX. Overview. Macromedia Flash เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการ สร้างสื่อมัลติมีเดีย,กราฟิกสำหรับงานเว็บ.
E N D
Train The Trainer Flash MX
Overview • Macromedia Flash เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการ สร้างสื่อมัลติมีเดีย,กราฟิกสำหรับงานเว็บ • ผลงานมีทั้งสื่อภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว สื่อมัลติมีเดีย ตลอดจนสื่อที่มีระบบโต้ตอบกับผู้ใช้ซึ่งเป็นสื่อที่มีขนาดเล็ก โหลดผ่าน Web Browserได้รวดเร็วมีความคมชัดสูงแม้ว่าจะถูกขยายขนาด สามารถนำเสนอได้ทั้งบนเว็บ / ผ่านโปรแกรม Flash Player / สร้างเป็น exe file / สามารถแปลงไฟล์ไปอยู่ในฟอร์แมตอื่นได้ด้วย เช่น Animation Gif, AVI, QuickTime
นามสกุล Flash • .Fla = เป็น default ของนามสกุลใน Flash จะสามารถนำไปใช้ได้เมื่อมี Program Flashอยู่ในเครื่องที่เปิดเท่านั้น ทำให้สามารถทำการแก้ไข เพิ่มเติมได้ • .Swf= เป็นตัว Compileไม่มี Program Flashก็สามารถใช้งานได้ แต่ไม่สามรถทำการแก้ไข ใดๆได้
MS Windows 98/ ME/ 2000/ NT/ XP • CPU มากกว่า 200 MHz (หน่วยประมวลผล) • RAM มากกว่า 64 MB (หน่วยความจำ) • พื้นที่ Hard disk 85 MB • ความละเอียดจอภาพที่แสดงผล 1024*768 Pixel • CD-ROM OS Requirement (ความต้องการระบบ)
ส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรมส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรม • Title Bar แสดง ปุ่มควบคุมหลัก(Control Menu), ชื่อ โปรแกรม และปุ่มควบคุมหน้าต่างโปรแกรม • Menu Bar แสดง รายการคำสั่งต่างๆของโปรแกรม • Toolbarแสดงปุ่มเครื่องมือการทำงานมาตรฐาน ของ โปรแกรม เช่น ปุ่มเปิดงานใหม่, เปิดไฟล์เอกสาร, จัดเก็บไฟล์ เป็นต้น • Toolbox แสดงปุ่มเครื่องมือเกี่ยวกับการวาดภาพ สร้างภาพ
ส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรมส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรม • Timeline เส้นควบคุมเวลาสำหรับนำเสนอผลงานประกอบ ด้วยส่วนทำงานเกี่ยวกับ Layer และ Timeline • Panelควบคุมฟังก์ชันงานซึ่งมีหลายฟังก์ชัน • Libraryควบคุมเกี่ยวกับชุดวัตถุ ของโปรแกรม ได้แก่ Symbols, Buttons, Movies • Work Areaพื้นที่ทำงาน • Stage พื้นที่ส่วนที่ใช้ในการวางวัตถุ ต่างๆ เมื่อมีการนำ เสนอผลงานจะแสดงเฉพาะวัตถุบน Stage เท่านั้น
หลักการทำงาน Flash มี 4 ขั้นตอนหลัก 1. การนำภาพGraphicหรือสร้างภาพขึ้นมาใช้งาน 2.แปลงส่วนประกอบต่างๆให้เป็นSymbolที่ Flash รู้จัก Symbol มี 3 ชนิด (Movie Clip, Button, Graphic) 3. การสร้าง Animation 4.การเผยแพร่เป็นชิ้นงาน(Publish)เช่น swf, html, etc
อุปกรณ์การวาด #1 • Line Toolวาดเส้น (เส้นตรง และ เส้นโค้ง) - เลือก Line Toolแล้วนำเมาส์มา ชี้ ณ ตำแหน่งที่เป็นจุด เริ่มของเส้นบน Stage กดปุ่มซ้ายของ เมาส์ค้างไว้ แล้ว ลากเมาส์ ให้ได้ความยาว และทิศที่ต้องการ จึงปล่อยเมาส์ - หากต้องการให้เส้นตรงเรียบ หรือทำมุม 45 องศา ให้กด ปุ่ม Shiftด้วย
อุปกรณ์การวาด #2 • Pen Toolวาดเส้น - เลือก Pen Tool แล้วกำหนด จุดเริ่มต้น และจุดสิ้นสุด สามารถกำหนดต่อไปเรื่อยๆ (ถ้าต้องการวาดเส้นโค้ง ให้ Click เมาส์ค้างไว้ และทำการปรับความโค้งตามต้องการ) - เมื่อต้องการจบการสร้างเส้นอิสระ สามารถกระทำได้โดย 1. Double Click ตำแหน่งใดๆ เมื่อต้องการเส้นอิสระแบบ วัตถุรูปเปิด 2. Click ณ ตำแหน่งจุดเริ่มต้นของวัตถุ เมื่อต้องการวัตถุรูปปิด
อุปกรณ์การวาด #3 • Rectangle Toolวาดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส / ผืนผ้า - เลือก สีเส้น, สีพื้น, และลักษณะมุมของสี่เหลี่ยม - เลือก Rectangle Toolนำเมาส์มาชี้ ณ ตำแหน่งจุดเริ่ม ของรูปบน Stage กดปุ่มเมาส์ค้างไว้ ลากเมาส์ในลักษณะ เฉียง เมื่อได้ขนาดและรูปร่างที่ต้องการ จึงปล่อยเมาส์ - ถ้าต้องการรูป สี่เหลี่ยมจัตุรัส ให้กด Shiftด้วย หรือ สังเกตจาก รูปวงกลมเล็กๆ ข้างเมาส์
อุปกรณ์การวาด #4 • Oval Toolวาดวงกลม / วงรี • - เลือก สีเส้น, สีพื้น • - เลือก Oval Toolนำเมาส์มา ชี้ ณ ตำแหน่งที่เป็นจุดเริ่ม • ของรูปบน Stage กดปุ่มเมาส์ค้างไว้ ลากเมาส์ในลักษณะ • เฉียง เมื่อได้ขนาดและ รูปร่างที่ต้องการ จึงปล่อยเมาส์ • - ถ้าต้องการรูป วงกลม ให้กด Shiftด้วย • หรือ สังเกตจาก รูปวงกลมเล็กๆ ข้างเมาส์
อุปกรณ์การวาด #5 • Pencil Toolวาดภาพแบบร่าง หรือขีดเส้นต่างๆ • - เลือก Pencil Toolแล้วกำหนดรูปแบบของเส้น ที่ Option > Straighten = ปรับเส้นให้มีลักษณะแข็ง > Smooth = ปรับเส้นให้มีความเรียบโค้งกลมกลืน > Ink = ให้เส้นเป็นแบบหมึก - ลากเส้น อิสระตามต้องการ
อุปกรณ์การวาด #6 • Brush Toolระบายสี • - เลือกสีที่ต้องการระบายให้เป็นสีของ Fill Color - เลือก Brush Tool ลากเมาส์เพื่อ ระบายสี ตามต้องการ กำหนด ขนาด, ลักษณะหัวแปรง และ ลักษณะการระบายสี • > Paint Normal = ระบายทับทุกส่วนของภาพ • > Paint Fill = ระบายทับในพื้นที่เว้นเส้นกรอบรูป • > Paint Behind = ระบายในส่วนพื้นหลัง • > Paint Selection = ระบายทับส่วนที่เลือกไว้ • > Paint Inside = ระบายทับพื้นที่ด้านใน
อุปกรณ์การวาด #7 • Eraser Toolลบส่วนที่ไม่ต้องการของภาพออก • - เลือก Eraser Tool ลากเมาส์เพื่อลบบริเวณที่ไม่ต้องการ คุณลักษณะของการลบ • > Eraser Normal = ลบทุกส่วนของภาพ • > Eraser Fills = ลบส่วนที่เป็นพื้นที่ยกเว้นเส้นกรอบ • > Eraser Lines = ลบเฉพาะเส้นกรอบ • > Eraser Selection Fills = ลบเฉพาะพื้นที่ที่ถูกเลือก • > Eraser Inside = ลบเฉพาะพื้นที่ภายในเส้นกรอบ
การทำงานกับสี #1 • การใช้หน้าต่าง Color Mixer • Solidกำหนดสีพื้น • Linerกำหนดให้มีการไล่สีแบบเส้นตรง • Radialกำหนดให้ไล่สีจากจุดศูนย์กลางไปตามแนวรัศมี • แสดงสีเป็นภาพแบบBitmapกำหนดสีพื้นเป็นภาพ • เรียกหน้าต่าง Color Mixer โดยเลือกที่เมนู • Window > Color Mixer
การทำงานกับสี #2 • ภาพใน หน้าต่าง Color Mixer 1. กำหนดรูปแบบเป็น Bitmap 2. เลือกรูปที่ต้องการจะให้แทนสีพื้น จากหน้าต่าง Open ถ้าต้องการ เพิ่มรูปให้เป็นสีพื้น ทำโดยเลือกเมนู File > Import • 3.เลือกสีพื้น ที่เป็นภาพจากหน้าต่าง Color Mixer แล้วทำการวาด วัตถุ หรือใช้ถังสีเทลงวัตถุ พื้นที่ของวัตถุจะเป็นภาพที่มีขนาดเล็กกว่าภาพจริงและเรียงต่อกัน
การทำงานกับสี #3 • ภาพใน Fill Color 1. นำไฟล์รูปที่ต้องการเข้ามา โดยเลือกคำสั่ง File > Import 2. เลือกคำสั่ง Modify > Break Apartเพื่อแยกองค์ประกอบของภาพ ทำให้สามารถแก้ไขภาพได้ 3. ใช้ Eye Dropper Toolดูดสีที่ภาพมาเก็บไว้ที่ Fill Colorและนำมาใช้ทันที (โดยไม่ได้เลือกผ่านหน้าต่าง Color Mixer) ภาพที่ได้จะมีขนาดเท่าของจริง
การทำงานกับสี #4 • การปรับแต่งภาพ Fill Transform Tool ใช้ปรับโทนสี และสามารถขยาย/ลดรัศมี หรือย้ายจุดศูนย์กลาง • - เลือก Fill Transform Tool • - Click mouse พื้นที่ที่ต้องการปรับแต่ง เพื่อเปลี่ยนแนว • โทนสีตามต้องการ สีแบบ Redial สีแบบ Linear > เลื่อนตำแหน่งจุดศูนย์กลาง > ขยายแนวรัศมี > ขยายแนวรัศมีออกด้านข้าง > หมุนแนวรัศมี > การเลื่อนตำแหน่งแนวโทนสี > การขยายขนาดของแนวโทนสี > การหมุนแนวโทนสี
เครื่องมือตกแต่งภาพ #1 • Arrow Tool ใช้ในการ Selectionวัตถุที่ต้องการ และสามารถใช้ทำการ ปรับแต่งเส้นขอบได้ด้วย Options • Snap to Objectsใช้ดูดเส้นขอบของวัตถุ • Smooth ใช้ปรับความโค้งให้วัตถุ • Straighten ใช้ปรับมุมให้วัตถุ • Subselect Tool ใช้ปรับแต่งวัตถุ โดยกระทำที่เส้นขอบ
เครื่องมือตกแต่งภาพ #2 • Subselect Tool ใช้ปรับแต่งวัตถุ โดยกระทำที่เส้นขอบ • - เลือก SubSelect Tool • - Click mouse ที่เส้นขอบ แล้วทำการปรับแต่งวัตถุโดย • การลากเมาส์ที่จุดต่างๆของเส้นขอบ • Free TransformTool ใช้ในการบิดปรับ, หมุน, ปรับความเอียง, ขยายขนาด ของวัตถุ • - เลือก Free Transform Toolจะเกิดจุดปรับรอบๆวัตถุที่ • คลิกเมาส์ลงไป
เครื่องมือตกแต่งภาพ #3 - สามารถทำการบิดวัตถุ, ปรับขนาดวัตถุ, หมุนวัตถุ และ ทำการย้ายจุดหมุนของวัตถุ Options • Rotate and Skewใช้หมุนและบิดรูป • Scaleใช้ย่อขยายวัตถุ • Distrot ใช้ปรับเปลี่ยนวัตถุ • Envelope ใช้ปรับแต่งวัตถุ
เครื่องมือตกแต่งภาพ #4 • Lasso Tool ใช้เลือกพื้นที่ได้อย่างอิสระและรวดเร็ว • - เลือก Lasso Tool • - Click mouse ค้างไว้ ลากตามพื้นที่ที่ต้องการ แล้วปล่อย • เมาส์ พื้นที่ที่เลือกจะมีลักษณะเหมือนถูกแรเงา • - ใช้ Selection Tool ลากพื้นที่นั้นออก • Options • Polygon Modeสร้าง Selection แบบหลายเหลี่ยม • Magic Wandเลือก Selection โดยอาศัยค่าสี • Magic Wand Properties กำหนดวงกว้าง หรือระดับ • ความใกล้เคียงของการเลือกสีได้
เครื่องมือตกแต่งภาพ #4 • Zoom Tool ย่อ-ขยายภาพ • - เลือก ZoomTool ไปที่ Options • Enlargeใช้ในการขยายขนาด • Reduceใช้ในการย่อขนาด • - คลิกเมาส์บริเวณรูปภาพ • Hand Tool เลื่อนดูภาพ • - เลือก Hand Tool • - Click mouse ค้างไว้ และลากไปยังทิศทางที่ต้องการ
การจัดการวัตถุ • เครื่องมือในการช่วยวัด และจัดวาง • 1. Ruler ลักษณะเหมือนไม้บรรทัด อยู่ด้านบนและซ้ายของหน้าต่างรูปภาพ เป็น ตัวอ้างอิงเพื่อใช้บอกขนาด ของพื้นที่ที่เลือก View > Rulers • 2. Guide เส้นที่ใช้ในการ อ้างอิง ช่วยกะระยะและตำแหน่ง โดยใช้เส้นตรงทั้งแนวตั้งและนอน View > Guides • 3. Gridเส้นตารางใช้ในการอ้างอิง โดยจุดแต่ละจุดเกิดจากเส้นแนวตั้งและนอนมาตัดกัน View > Grid
การสร้างตัวอักษร #1 • Text Tool การใส่ข้อความ • - เลือก Text Toolแล้ว ลากเมาส์ บริเวณที่ต้องการสร้าง • กล่องข้อความ • - กำหนด รูปแบบFont, ขนาด จากหน้าต่าง Properties • Window > Properties • - พิมพ์ข้อความที่ต้องการ
การสร้างตัวอักษร #2 • หน้าต่าง Properties ของ Text Tool • 1. Static Toolรูปแบบการแสดงตัวอักษรธรรมดาทั่วไป • 2. Dynamic Toolรูปแบบของตัวอักษรที่สามารถเปลี่ยนแปลงค่า หรือข้อความได้ด้วยตัวเองตามข้อมูลจาก Server • 3. Input Textกล่องรับข้อความ ซึ่งสามาถรับข้อความปกติ หรือแบบ Password ได้
การสร้างตัวอักษร #3 • ตัวอย่างการสร้างข้อความให้ Link ไปยังเว็บเพจอื่น • - เลือก Text Tool,ที่หน้าต่าง Properties เลือก Static Text • - พิมพ์ข้อความ จากนั้นเลือกข้อความและ พิมพ์ URLในหน้าต่าง Properties • - เลือก Targetที่ต้องการ • > _blank = เปิดหน้าเพจใหม่ • > _parent = แสดงบนหน้าเพจเดิมโดยลบหน้าเดิมออก • > _self = แสดงในเพจหรือเฟรมเดียวกับที่แสดงข้อความ • > _top = ขยายเต็มหน้าจอ • - ทดสอบโดยกด <Ctrl+Enter>
Symbol • รู้จัก Symbol แต่ละแบบ 1. Movie Clipแสดงภาพเคลื่อนไหวได้อย่างอิสระ (ตัวหลักในการทำ Animation) 2. Buttonลักษณะของปุ่มกด ที่สามารถ ใส่เสียง และแสดงการตอบโต้กับผู้ใช้ได้ 3. Graphicลักษณะเป็นภาพนิ่ง สามารถกำหนดให้มีการตอบโต้ กับผู้ใช้ แต่ ไม่สามารถใส่เสียงได้
Layer การทำงานเป็น Layer เป็นการทำงานโดยแยกส่วนต่างของภาพออกจากกัน ทำให้เกิดการเคลื่อนที่อย่างสมจริง - Showการซ่อน และแสดง Layer - Lockป้องกันการแก้ไขรูปภาพ - Outlines แสดงแต่เส้นโครงร่าง เพื่อใช้อ้างอิงตำแหน่ง
หลักการพื้นฐานในการสร้าง Animation • หลักการของ Animation การเคลื่อนไหว มี 2 ลักษณะ คือ 1. แบบย้ายสถานที่ (Motion)เช่น วัตถุเคลื่อนจากจุด A ไป B 2. แบบเปลี่ยนแปลงลักษณะ (Transform)เช่น กระดาษถูกเปลี่ยนแปลงรูปร่าง
หลักการพื้นฐานในการสร้าง Animation • ประเภทการเคลื่อนไหว • 1. เคลื่อนไหวชนิดภาพต่อภาพ (Frame By Frame Animation) • เหมาะกับการทำ Animation ที่ซับซ้อน ที่มีการเคลื่อนไหว • ลักษณะท่าทางมาก • 2. เคลื่อนไหวชนิดกำหนดจุดเริ่มต้นและจุดสุดท้าย (Tweened • Animation)ใช้วิธีคำนวณของ Flash ในการแสดงภาพต่างๆ • 2.1 เปลี่ยนแปลงสถานที่ (Motion Tween) • 2.2 เปลี่ยนแปลงลักษณะเดิม (Shape Tween)
หลักการพื้นฐานในการสร้าง Animation • Frame ลักษณะเป็นช่องเล็กที่เรียงกันเป็นแถวยาว ทำหน้าที่บรรจุภาพ และเสียง ดังนั้นจึงต้องทำการ จัดเรียงเรื่องราวบน Frame เพื่อแสดงออกมาเป็น Flash Movie • Keyframe Frame ที่มีวัตถุ หรือมีการเปลี่ยนแปลง สังเกตจากจุดใน Frame หรือจุดเริ่มต้นของ Frame ในงาน Animation
การสร้าง Animation • Frame By Frame Animation สร้างภาพในแต่ละ Frame หรือ ทำการ Import ไฟล์ภาพลงในแต่ละ Frame • Tweened Animation 1. Motion Tween 2. Shape Tween
การสร้าง Animation • Motion Tween การทำ Animation แบบ Tween 1 สร้างภาพ หรือ Import ภาพ เข้ามาไว้ที่ Stage 2 เลือกภาพ แล้วเลือก Insert > Convert Symbol 3 เกิดหน้าต่าง Symbol Property ให้เลือก Movie Clip 4 เลือก Frame 20 Click mouse ปุ่มขวา เลือก Insert Keyframeเพื่อแสดงภาพตั้งแต่ Frame 1 ถึง Frame 20
การสร้าง Animation 5 เลือก Frame ที่ 1 เพื่อกำหนดจุดเริ่มต้นของการเคลื่อนไหว 6 เลือก Insert > Creat Motion Tweenเพื่อให้ Flash ทำการสร้าง Animation ตั้งแต่ Frame ที่ 1 ถึง Frame ที่ 20 7 จะเห็นว่ามีลูกศรที่ Frame แสดงว่า Flash ได้สร้างการเคลื่อนไหวตั้งแต่ Frame 1 ถึง 20 แล้ว จากนั้นเลือก Frame ที่ 20 ย้ายตำแหน่ง Movie Clip เพื่อกำหนดจุดสิ้นสุดในการเคลื่อนที่ของ Animation 8 ทดสอบ Animation <Ctrl + Enter>
การสร้าง Animation การทำ Animation แบบ ย่อ-ขยาย 1 สร้าง Animation แบบ Tween (ขั้น 1-7) 2 เลือก Frame ที่ 20 แล้วเลือก Free Transform Toolเพื่อขยายรูป โดยใช้ Scale (Modify > Transform > Scale) 3 เลือก Frame ที่ 1 ทำการย่อวัตถุ 4 ทดสอบโดยกด (Ctrl + Enter)
การสร้าง Animation การทำ Animation แบบ Rotation 1 สร้าง Animation แบบ Tween (ขั้น 1-7) 2 - เลือก Frame ที่ 20 แล้วเลือก Free Transform Toolเพื่อทำการหมุนรูป โดยใช้ Rotate หรือ (Modify > Transform > Rotate and Skew) - หรือ ทำการหมุนที่หน้าต่าง Propertiesโดยเลือก Tweening เป็น Motion, เลือก Scale, เลือก Rotate (CW,CCW),และ Times 3 ทดสอบ (Ctrl + Enter)
การสร้าง Animation การทำ Animation แบบ บิดพลิกวัตถุ 1 เลือก TextTool ทำการพิมพ์ข้อความ โดยกำหนดขนาดและสี 2 เลือกข้อความ จากนั้นเลือก Modify > Break Apart 3 กระจาย Layer เพื่อแยกตัวอักษรออกเป็น Layer ละ 1 ตัว โดยเลือก Modify > Distribute to Layers 4 ตัวอักษรถูกกระจายแล้ว และไปที่ Frame ที่ 20 ใน Layer ของตัวอักษรตัวแรก ทำการ Insert Keyframe 5 เลือก Frame ที่ 1 แล้วลือก Create Motion Tween
การสร้าง Animation 5 เลือก Frame ที่ 1 แล้วลือก Create Motion Tween 6 ทำการ Insert Keyframe และ Create Motion Tween ทุกๆLayerของแต่ละตัวอักษร 7 กลับไป Layer ตัวอักษรแรก เลือก Frame ที่ 1 แล้วเลือก Modify > Transform > Flip Horizontal 8 ทำการ Flip ให้กับทุกๆ Layer โดยทำที่ Frame ที่ 1 9 ทดสอบโดยกด <Ctrl + Enter>
การสร้าง Animation การทำ Animation แบบ Guildline 1 สร้าง Animation แบบ Tween (ขั้น 1-7) 2 เลือก Frame ที่ 1 แล้วทำการAdd Motion Guideเพื่อสร้าง Guide Layer ขึ้นมา 3 เลือก Frame ที่ 1 ของ Guide Layer แล้วเลือก Pencil Toolลากเส้นที่ต้องการให้วัตถุเคลื่อนที่ 4 ลาก Movie Clipใน Frame 1 มาวางที่ปลายเส้นที่จุดเริ่มต้น 5 เลือก Frame ที่ 20 นำ Movie Clipมาวางที่จุดสุดท้าย
การสร้าง Animation 6 ทดสอบโดยกด <Ctrl + Enter> 7 สังเกตว่า Movie Clip เคลื่อนที่ไม่เป็นธรรมชาติ สามารถแก้ไขได้โดยเลือก Frame ที่ 1 แล้วทำเครื่องหมายที่ช่องOrient to path เพื่อให้เคลื่อนที่ตามเส้นให้สัมพันธ์กัน Guide Layer ขึ้นมา 8 เลือก Frame 20 ใช้ Free Transform Toolทำการหมุน Movie clip ให้สัมพันธ์กับการเคลื่อนที่กับเส้นที่เราลากขึ้น 9 ทดสอบโดยกด <Ctrl + Enter>
การสร้าง Animation การทำ Animation แบบ Layer Mark 1 สร้าง หรือ Importภาพไว้ที่ Stage 2 เลือก Frame ที่ 90 แล้วทำการInsert Keyframeเพื่อ กำหนดให้แสดงภาพที่ Inport เข้สมาถึง Frame ที่ 90 3 เลือก Insert > Layer แล้วเลือก Frame ที่ 1 ใน Layer 2 แล้วสร้างวงกลมที่มุมบนซ้าย 4 เลือก วงกลม แล้วทำการConvert to symbol 5 เลือก Frame ที่ 10 ใน Layer 2 ทำการInsert Keyframe
การสร้าง Animation 6 เลือกFrame 30 ใน Layer 2 แล้วเลือกInsert Keyframe 7 กลับมาที่ Frame ที่ 10 เลือกInsert > Create Motion Tween จะเกิดลูกศรขึ้นตั้งแต่ Frame 10-30 8เลือก Frame 30 เพื่อย้าย Movie clipไป บนขวา 9 เลือก Frame 40 ใน Layer 2 แล้วเลือก Insert Keyframe 10 เลือก Frame 30เลือก Insert > Create Motion Tween 11 เลือก Frame 40 เพื่อย้าย Movie clipไป ล่างขวา
การสร้าง Animation 12 เลือก Frame 60 ใน Layer 2 แล้วเลือก Insert Keyframe 13 เลือก Frame 40เลือก Insert > Create Motion Tween 14 เลือก Frame 60 เพื่อย้าย Movie clipไป ล่างซ้าย 15 เลือก Frame 70 ใน Layer 2 แล้วเลือก Insert Keyframe 16 เลือก Frame 60 เลือก Insert > Create Motion Tween 17 เลือก Frame 70 เพื่อย้าย Movie clipไป ตรงกลาง
การสร้าง Animation 18 เลือก Frame 90 ใน Layer 2 แล้วเลือก Insert Keyframe 19 เลือก Frame 70เลือก Insert > Create Motion Tween 20 เลือก Frame 90 เพื่อย้าย Movie clipไป บนซ้าย 21 Click mouse ปุ่มขวาที่ Layer 2 เลือก Markเพื่อสร้าง Layer Mark ใน Layer 2 22 ทดสอบโดยกดปุ่ม <Ctrl + Enter>
การสร้าง Animation • Shape Animation การเปลี่ยนแปลงรูป 1 สร้างภาพ หรือ Import ภาพ เข้ามาไว้ที่ Stage 2 เลือก Modify > Break Apartเพื่อแยกองค์ประกอบ 3 เลือก Frame 20 Click mouse ปุ่มขวา เลือก Insert Keyframeเพื่อแสดงภาพตั้งแต่ Frame 1 ถึง Frame 20 4 ลบภาพใน Frame ที่ 20 แล้ว นำภาพใหม่เข้ามาแทน
การสร้าง Animation 5 เลือก Modify > Break Apartเพื่อแยกองค์ประกอบ 6 เลือก Frame 1 สังเกตหน้าต่าง Properties ที่ช่อง Tween เลือกคำสั่ง Shapeเพื่อให้วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลง 7 ช่อง Blend เลือก Distributiveเปลี่ยนแปลงโดยการกระจายภายในวัตถุ ถ้ามีลูกศรเกิดขึ้นแสดงว่า Flash ทำการคำนวณเพื่อเปลี่ยนแปลงภาพทั้ง/ ภาพแล้ว 8 ทดสอบ <Ctrl + Enter>
การสร้าง Animation การเปลี่ยนแปลงตัวอักษร 1 เลือกText Toolแล้วเขียนข้อความที่ Frame ที่ 1 แล้วเลือก Modify > Break Apart(2 ครั้ง เพื่อสามารถแก้ไขวัตถุได้)เพื่อแยกองค์ประกอบ 2 เลือก Frame 20 Click mouse ปุ่มขวา เลือก Insert Keyframeเพื่อแสดงภาพตั้งแต่ Frame 1 ถึง Frame 20 แล้ว ลบข้อความใน Frame ที่ 20 3 เลือก Text Tool แล้วเขียนข้อความที่ Frame ที่ 20 แล้วเลือก Modify > Break Apart (2 ครั้ง)
การสร้าง Animation 4 Click mouse เลือก Frame ที่1 ที่หน้าต่าง Properties เลือกคำสั่ง Shape เพื่อกำหนดการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง 5 มีลูกศรเกิดขึ้นแสดงว่า Flash ทำการเปลี่ยนแปลงให้เป็น Animation แล้ว 6 ทดสอบ <Ctrl + Enter>
การเผยแพร่ Flash Movie • การ Publish Flash สามารถแปลง File (Publish) งานออกมาได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่เราจะใช้ File > Publish Settings Publish เป็น Flash Movie/ Html/ GIF/ JPEG/ PNG/ Quick Time • การ Export Movie และ Export Image เป็นการนำ Flash Movie มาเผยแพร่ เหมือนกับการ Publish แต่ต่างกันที่ Publish จะเก็บค่าต่างๆ ที่กำหนดไว้ใน Publish Setting File > Export Movie