1 / 27

กระบวน ทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร ( HCRD Paradigm in Organization )

รหัสวิชา 02190551. กระบวน ทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร ( HCRD Paradigm in Organization ) รศ. น.ท. ดร.สุมิตร สุวรรณ. เทคนิคการพัฒนาองค์กร. การปรับรื้อระบบ (reengineering) การคิดใหม่ (rethinking) การออกแบบใหม่ (redesign) การปรับโครงสร้างองค์กรใหม่ (reorganization)

zed
Download Presentation

กระบวน ทัศน์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร ( HCRD Paradigm in Organization )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รหัสวิชา 02190551 กระบวนทัศน์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชนในองค์กร (HCRD Paradigm in Organization) รศ.น.ท.ดร.สุมิตร สุวรรณ

  2. เทคนิคการพัฒนาองค์กร • การปรับรื้อระบบ (reengineering) • การคิดใหม่ (rethinking) • การออกแบบใหม่ (redesign) • การปรับโครงสร้างองค์กรใหม่ (reorganization) • การเทียบเคียงมาตรฐาน (benchmarking) • การมอบอำนาจ (empowering) • การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม(TQM)

  3. การปรับรื้อระบบ (reengineering) Michael Hammer James Champy • การคิดใหม่ • การออกแบบใหม่อย่างถอนรากถอนโคน • เพื่อทำให้เกิดการปรับปรุงการปฏิบัติงาน • ราคา คุณภาพ การบริการ และความรวดเร็ว

  4. การปรับรื้อระบบ (reengineering) ศิริชัย สายพัฒนา 1.Hard Ware:การปรับโครงสร้างองค์กร(restructure) 2.Soft Ware:การจัดขบวนการทำงาน(reprocess) 3.People Ware:การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคลากร

  5. การปรับรื้อระบบ (reengineering) • ดร.รุ่ง แก้วแดง • การพิจารณาทบทวน (rethinking) • การออกแบบใหม่ (redesign) • เริ่มตั้งแต่การกำหนดวิสัยทัศน์ของหน่วยงาน • งานบางอย่างอาจใช้วิธีจ้างเอกชนทำ • ลดขั้นตอนให้สั้นลง/ให้บริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว • มีการเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ • กำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานให้ชัดเจน

  6. การปรับรื้อระบบ (reengineering) องค์กรหลังดำเนินการรีเอ็นจิเนียริ่ง 1.งานจะถูกรวมเป็นงานเดียว/ที่เดียว 2.งานถูกดำเนินการโดยทันที 3.งานมีหลายมิติและเพิ่มความลึกมากขึ้น 4.พนักงานจะเป็นผู้ตัดสินใจ 5.ขั้นตอนทำให้ยืดหยุ่น ไม่ต้องทบทวนใหม่ทุกขั้นตอน

  7. การปรับรื้อระบบ (reengineering) องค์กรหลังดำเนินการรีเอ็นจิเนียริ่ง 6.การตรวจสอบและการควบคุมจะลดลง 7.การไกล่เกลี่ยแทบจะไม่เกิดขึ้น 8.การวัดผลและค่าตอบแทนดูที่ผลลัพธ์ 9.ผู้จัดการเปลี่ยนจากกำกับเป็นผู้ชี้แนะ 10.โครงสร้างองค์กรตามลำดับชั้นเปลี่ยนเป็นแบนราบ

  8. การปรับรื้อระบบ (reengineering)

  9. การคิดใหม่ (rethinking) Rowan Gibson Rethinking the Future “คิดใหม่เพื่ออนาคต”

  10. การคิดใหม่ (rethinking) การบริหารจัดการที่มีต่อโลกยุคใหม่ 1.มองหลักการในวิถีทางที่แตกต่าง/สร้างสรรค์ 2.ด้านการแข่งขัน -เน้นการใช้ยุทธศาสตร์เพื่อสร้างความได้เปรียบ -หัวใจของยุทธศาสตร์อยู่ที่ความมีเอกลักษณ์ 3.ด้านการควบคุมและความสลับซับซ้อน -การบริหารไม่เป็นแบบรูปเจดีย์หรือพีระมิด -ผู้บริหารจะเปลี่ยนไปเป็นผู้ให้คำแนะนำ/สนับสนุน -แยกงานออกเป็นกลุ่มๆ ที่สามารถตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว

  11. การคิดใหม่ (rethinking) 4.ด้านความเป็นผู้นำ - ยึดมั่นในจรรยาบรรณ/หลักความถูกต้อง - พร้อมที่จะรับฟังผู้อื่น - เรียนรู้อยู่ตลอดเวลา - มีมันสมองปราดเปรื่อง - ทุ่มเททุกอย่างเพื่อเดินไปตามทางที่วางไว้ - เสมอต้นเสมอปลาย มีความจริงใจ

  12. การคิดใหม่ (rethinking) 5.ด้านตลาด - จุดประกายให้ลูกค้าเห็นว่า สินค้ายี่ห้อนี้มีอะไรเด่น - ผู้บริหารสูงสุด/ซีอีโอ ต้องทำการตลาดด้วย - คนส่วนมากต้องการความสนุกสนานเพลิดเพลิน - แยกแยะ/เจาะตลาดให้ตรงเป้า เช่น คนรวย/คนจน

  13. การคิดใหม่ (rethinking) 6.ด้านโลกกว้าง - ไม่ถูกครอบงำด้วยบริษัทข้ามชาติขนาดยักษ์ - เครือข่ายของผู้ประกอบการอิสระและบริษัทขนาดเล็ก - ศูนย์กลางจะย้ายไปอยู่ทางทวีปเอเชียแทนตะวันตก - มหาอำนาจจะร่วมมือกันตั้งกติกาการแข่งขัน - ประเทศที่มีระบบการศึกษาอ่อนแอจะไม่มีโอกาส - ความได้เปรียบเสียเปรียบจะขึ้นอยู่กับพลังทางปัญญา

  14. การออกแบบใหม่ (redesign) • การทำงานให้ง่าย • การหมุนเวียนงาน • การขยายเนื้อหาของงาน • การจัดโครงสร้างของงาน • ขจัดความซ้ำซ้อน/สภาพการทำงาน

  15. การปรับโครงสร้างองค์กรใหม่(reorganization)การปรับโครงสร้างองค์กรใหม่(reorganization) 1.การลดขนาด (downsizing) - การทำให้องค์กรมีขนาดเล็กลง/เหมาะสม - การลดพนักงานเพื่อลดค่าใช้จ่าย/ความอยู่รอด - การแปรรูปรัฐวิสาหกิจเป็นเอกชน (privatization) - โครงการเกษียณก่อนอายุ (early retirement)

  16. การปรับโครงสร้างองค์กรใหม่(reorganization)การปรับโครงสร้างองค์กรใหม่(reorganization) 2.การยกเลิกระดับชั้น - การทำให้สายการบังคับบัญชาสั้นลง - องค์กรจะมีลักษณะแบนราบมากขึ้น - ทุกคนสามารถสื่อความหมายโดยตรงกับทุกคน - ใช้เทคโนโลยี เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ Email, Blogs, Facebook, Twitter, You tubes…

  17. การปรับโครงสร้างองค์กรใหม่(reorganization)การปรับโครงสร้างองค์กรใหม่(reorganization) 3.การลดกฎระเบียบ (deregulation) - ยกเลิกกฎเกณฑ์ต่างๆ ทำให้งานคล่องตัว - ลดการเป็นผู้อนุญาต/อนุมัติจากรัฐ เป็นการกำกับดูแล

  18. การเทียบเคียงมาตรฐาน (benchmarking) • การวัดผลิตภัณฑ์ บริการ และวิธีการกับคู่แข่งขัน • ที่เข้มแข็งที่สุด • นำผลมาปรับปรุงองค์กรตนเอง/มุ่งสู่ความเป็นเลิศ • กำหนดตัววัด KPI จะเปรียบเทียบกับใคร เรื่องใด • แลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการปฏิบัติที่ดี/เป็นเลิศ • (Best Practices)

  19. การมอบอำนาจ (empowering) • บุคลากรได้รับการส่งเสริมให้ใช้การริเริ่มของเขา • พนักงานถูกมอบอำนาจให้สามารถตัดสินใจได้ • การเข้าถึงข่าวสารข้อมูล • พยายามทำให้ดีที่สุดด้วยความรับผิดชอบ

  20. การรักษาราชการแทน • การปฏิบัติราชการแทน

  21. การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม(TQM)การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม(TQM) หลักการของ Total Quality Management 1.ค้นหาความต้องการของลูกค้า 2.ให้ความสำคัญกับการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง 3.ปรับปรุงคุณภาพของทุกสิ่งทุกอย่าง 4.การวัดอย่างถูกต้องจะใช้วิธีการทางสถิติ 5.ให้อำนาจแก่บุคคลในการมีส่วนร่วมปรับปรุงให้ดีขึ้น Edwards Deming ชาวอเมริกัน

  22. การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม(TQM)การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม(TQM) ค่านิยมร่วมที่บุคคลทุกคนในองค์กรจะต้องมี คือ 1.ลูกค้าภายในสำคัญเท่ากับลูกค้าภายนอก 2.ตอบสนองต่อข้อเรียกร้องของลูกค้าภายในวันนั้น 3.รับโทรศัพท์ที่เสียงดังไม่เกิน 2 ครั้ง 4.ลูกค้าถูกต้องเสมอ 5.บุคคลทุกคนต้องเกี่ยวข้องกับคุณภาพ 6.ปรับปรุงคุณภาพของบุคคลทุกคน 7.ไม่เคยพอใจกับคุณภาพ มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง 8.ทีมงานและความร่วมมือจะสำคัญกว่าบุคคล ลูกค้า คือ... พระเจ้า

  23. การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม(TQM)การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม(TQM) วงจรเด็มมิ่ง/วัฏจักร PDCA มี 4 ขั้นตอน ขั้นที่ 1 การวางแผน (Plan - P) ขั้นที่ 2 การปฏิบัติตามแผน (Do - D) ขั้นที่ 3 การตรวจสอบผลการปฏิบัติการ (Check - C) ขั้นที่ 4 การแก้ไขปัญหา (Action - A)

  24. การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม(TQM)การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม(TQM) • การนำ TQMมาใช้ในการบริหารงานภาครัฐ • เพื่อ “ประสิทธิภาพ” และ “ประสิทธิผล” • สร้างความพึงพอใจและความเป็นธรรม • ให้เกิดขึ้นแก่ประชาชน

  25. การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม(TQM)การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม(TQM) ความล้มเหลวของ TQMมักเกิดจาก... 1.บุคลากรไม่รู้จริง 2.ขาดความจริงจังต่อเนื่อง 3.งานประจำล้นมือ 4.คนไทยใจร้อน 5.คนไทยเบื่อง่าย

  26. การจัดการความรู้ (KM) • การสร้างและแสวงหาความรู้ • การจัดเก็บความรู้ให้เป็นระบบ • การเผยแพร่ให้เข้าถึงความรู้ได้ง่ายและสะดวก เช่น IT • การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้

  27. การบริหารความเสี่ยง • การวิเคราะห์ ประเมิน โดยระบุว่าอะไรที่จะทำให้เกิดความเสียหายต่อองค์กร • หาวิธีการดูแล ตรวจสอบ และควบคุมความเสี่ยง เพื่อให้องค์กรลดความเสียหายจากความเสี่ยงนั้น • ให้มากที่สุด 

More Related