1 / 19

วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Arrow

วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Arrow. CPM. Critical Path Method นิยมเรียกว่าทั่วไปว่า C.P.M. เป็นเทคนิคการทำกำหนดการเพื่อการควบคุมงาน เริ่มใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1956 จากบริษัทดูปอนด์ (Dupont) ศึกษาวิเคราะห์และทดลองใช้กับหน่วยงานผลิตของบริษัทพบว่าได้ผลเป็นที่น่าพอใจ

Download Presentation

วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Arrow

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Arrow

  2. CPM • Critical Path Method นิยมเรียกว่าทั่วไปว่า C.P.M. • เป็นเทคนิคการทำกำหนดการเพื่อการควบคุมงาน • เริ่มใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1956 จากบริษัทดูปอนด์ (Dupont) ศึกษาวิเคราะห์และทดลองใช้กับหน่วยงานผลิตของบริษัทพบว่าได้ผลเป็นที่น่าพอใจ • ต่อมาเป็นที่ยอมรับและเผยแพร่ต่ออุตสาหกรรมอื่นๆ

  3. CPM แบบ AOA • การจัดทำ CPM พื้นฐานจะเป็นลักษณะ Activity on Arrow (AOA) คือการแสดงกิจกรรมด้วยลูกศร เชื่อมระหว่างจุดของเวลาเรียก Node กิจกรรม A

  4. CPM • เริ่มต้นจาก Work Package ใน Work Breakdown Structure ซึ่งเป็นกิจกรรมระดับย่อยที่สุด มาเชื่อมโยงกันโดยมีข้อที่คำนึงถึง • งานใดบ้างที่เริ่มทำได้ทันที • งานใดบ้างที่กระทำไปพร้อมกันได้ • งานใดที่ไม่สามารถเริ่มงานได้เนื่องจากต้องคอยอีกงานหนึ่งแล้วเสร็จ • งานใดสามารถเริ่มงานได้เลยหลังจากงานหนึ่งแล้วเสร็จ

  5. CPM แบบ AOA • จากรูปจะเห็นได้ว่า ต้องคอยกิจกรรม A แล้วเสร็จก่อนจึงจะเริ่มกิจกรรม B, C ได้ • จะเริ่มกิจกรรม F ได้ต้องคอยกิจกรรม D, E แล้วเสร็จก่อน 30 D B A F 10 20 50 60 C E 40

  6. Dummy Activity • เส้นประแสดงกิจกรรมหุ่น (Dummy Activity) ซึ่งไม่มีความหมายว่าเป็นการทำกิจกรรมใด เพียงแต่ช่วยให้ลำดับกิจกรรมในการเขียนโครงข่ายเป็นไปตามความต้องการ DUMMY 30 D B A F 10 20 50 60 C E 40

  7. DUMMY • จากรูปเส้น DUMMY แสดงว่ากิจกรรม D คอย B, C แต่งกิจกรรม E คอย C ตัวเดียว ซึ่งจำเป็นต้องใช้กิจกรรม Dummy ช่วยในการเขียนโครงข่าย 30 D B 20 50 C E 40

  8. DUMMY • นอกจากนี้ DUMMY ยังช่วยขจัดความสับสนในการเขียนและคำนวณโครงข่ายในกรณีที่หลายกิจกรรมมีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดเดียวกัน X Y 20 30 30 X Y 40 20

  9. CPM • การเขียนโครงข่ายควรหลีกเลี่ยงสายงานที่ซ้อนทับกัน 40 30 X Y 50 20

  10. Activity Table • ก่อนที่จะเขียน CPM NETWORK ควรเขียน Activity Table ก่อนเพื่อแสดงระยะเวลา และงานมาก่อนของกิจกรรมทั้งหมดในโครงการป้องกันการหลงลืม

  11. DUMMY • จากตาราง Activity Table สร้างโครงข่ายและเขียนระยะเวลาลงในโครงข่ายกิจกรรม 30 D, 5 B,5 F, 3 A, 2 10 20 50 60 C, 10 E, 6 40

  12. ตัวแปรต่างๆ • ในการคำนวณ CPM ต้องทราบถึงตัวแปร ดังนี้ • ES - Early Start วันที่เริ่มเร็วที่สุด • EF - Early Finish วันที่เสร็จเร็วที่สุด • LS - Late Start วันที่เริ่มช้าที่สุด • LF - Late Finish วันที่เสร็จช้าที่สุด • TF - Total Float เวลาลอยตัวรวม • FF- Free Float เวลาลอยตัวอิสระ

  13. การคำนวณ CPM • เริ่มจากกิจกรรมแรกจะเขียนให้เริ่ม ณ วันที่ 0 B,5 D, 5 30 0, A, 2 F, 3 20 60 50 10 C, 10 E, 6 40

  14. การคำนวณ CPM • เริ่มคำนวณโดยบวกระยะเวลากิจกรรมเป็น ES ของกิจกรรมถัดไปโดยแสดงไว้บน Node และ หาก Node ใดมีกิจกรรมเชื่อมเข้ามากกว่า 1 ให้เลือกค่าที่มากกว่า เนื่องจากกิจกรรมถัดไปต้องคอยกิจกรรมมาก่อนที่เสร็จช้ากว่าจึงจะเริ่มกิจกรรมต่อไปได้ 12, D, 5 B,5 12 2 7 17 30 2, 21, 0, 18, F, 3 18 A, 2 21 0 2 20 60 50 10 12, 18 C, 10 2 E, 6 12 12 40

  15. การคำนวณ CPM • เมื่อคำนวณไปข้างหน้าจบถึงกิจกรรมสุดท้าย ให้คำนวณย้อนกลับ โดยเริ่มจาก Node ท้ายสุด กำหนด LF และ ลบระยะเวลาของแต่ละกิจกรรม เพื่อหา LS 12, B,5 D, 5 2 7 12 17 30 2, 21,21 0, 18, F, 3 18 A, 2 21 0 2 20 60 50 10 12, 18 C, 10 E, 6 40 2 12 12

  16. การคำนวณ CPM • คำนวณย้อนกลับ โดยเริ่มจาก Node ท้ายสุด กำหนด LF และ ลบระยะเวลาของแต่ละกิจกรรม เพื่อให้ได้ค่า LS 12,13 D, 5 B,5 7 17 12 2 30 8 13 13 18 2,2 21,21 0,0 18,18 F, 3 A, 2 21 18 0 2 20 60 50 10 0 18 2 21 12,12 E, 6 C, 10 18 40 2 12 12 2 18 12 12

  17. การคำนวณ CPM • LF-LS หรือ LF-EF คือ ค่า Total Float หมายถึง เวลาที่กิจกรรมนั้นล่าช้าได้โดยไม่กระทบต่อเวลาแล้วเสร็จของโครงการ กิจกรรมที่เป็นวิกฤตคือ TF=0 หมายถึง ล่าช้าไม่ได้เลย • ตัวอย่างนี้สายงานวิกฤตคือ A-C-E-F 12,13 D, 5 B,5 7 17 12 2 30 8 13 13 18 6 1 21,21 2,2 0,0 18,18 F, 3 A, 2 21 18 0 2 20 60 50 10 0 0 18 2 21 0 12,12 E, 6 C, 10 18 40 2 12 12 2 18 12 12 0 0

  18. การคำนวณ CPM • Free float คือ EF ของกิจกรรมนั้นลบด้วย ES ของกิจกรรมถัดไป หมายถึง เวลาที่กิจกรรมนั้นสามารถล่าช้าได้โดยไม่กระทบต่อ Float ของงานอื่นตัวอย่างกิจกรรม B มี FF=5 วัน หมายถึงช้าได้ 5 วันโดยไม่กระทบกับ Float ของงาน D 12,13 D, 5 B,5 7 17 12 2 30 8 6,5 13 13 1,1 18 2,2 21,21 0,0 18,18 F, 3 A, 2 21 18 0 2 20 60 50 10 0 0,0 18 2 21 0,0 12,12 E, 6 C, 10 18 40 2 12 12 2 18 12 12 0,0 0,0

  19. รายงานวันที่กิจกรรม • นำผลที่ได้จากการคำนวณซึ่งเป็นจำนวนวันมาปรับเป็น วันเดือนปี เพื่อการใช้งานและนำไปใช้ใน Bar chart ตามต้องการ

More Related