310 likes | 437 Views
การใช้ Format ต่างๆ. การกำหนด Format เอง. รูปแบบ ดังนี้ รูปแบบค่าบวก ;รูปแบบค่าลบ ;รูปแบบค่าศูนย์ ;รูปแบบตัวอักษร. กำหนดรูปแบบตัวเลข. เครื่องหมาย # ใช้แทนตำแหน่งของตัวเลขแต่ละตัว หากตัวเลขไม่มี ณ ตำแหน่งนั้น จะแทนด้วยช่องว่าง
E N D
การกำหนด Format เอง รูปแบบ ดังนี้ รูปแบบค่าบวก ;รูปแบบค่าลบ ;รูปแบบค่าศูนย์;รูปแบบตัวอักษร
กำหนดรูปแบบตัวเลข • เครื่องหมาย # ใช้แทนตำแหน่งของตัวเลขแต่ละตัว หากตัวเลขไม่มี ณ ตำแหน่งนั้น จะแทนด้วยช่องว่าง • เครื่องหมาย 0 ใช้แทนตำแหน่งของตัวเลขแต่ละตัว หากตัวเลขไม่มี ณ ตำแหน่งนั้น จะแทนด้วยเลข 0 ดังนั้นจึงมักพบว่า ณ ตำแหน่งเลขหลักหน่วย และเศษทศนิยม จึงกำหนดให้ใช้รูปแบบเป็นเลข 0 ไว้เสมอ เพื่อให้อย่างน้อยที่สุด จะแสดงค่า 0 ถ้ามีค่าเป็น 0 • หากไม่ต้องการใช้เครื่องหมาย Comma , โดยกำหนดให้ใช้ช่องว่าง Space แทน เช่น กำหนดรูปแบบเป็น # ##0 .00# ### ทำให้ค่า 12345.67890 แสดงเป็น 12 345 .678 9 • หากต้องการแทรกข้อความเข้าไปในรูปแบบ ให้ใส่ในเครื่องหมายคำพูดเสมอ โดยจะแทรกด้านหน้า ด้านหลัง หรือแม้แต่แทรกระหว่างรูปแบบตัวเลขก็ได้
% • E
การกำหนด Format เอง ตัวอย่าง • #,##0;-#,##0;0000;"Wrong"หมายถึง #,##0 เป็นรูปแบบค่าบวก -#,##0 เป็นรูปแบบค่าลบ 0000 เป็นรูปแบบค่าศูนย์ และให้ใช้คำว่า Wrong เมื่อค่าเป็นตัวอักษรใดๆ • 0;; ทำให้ไม่แสดงค่าที่เป็นลบและศูนย์ • 0;;; ทำให้ไม่แสดงค่าที่เป็นลบ ค่าศูนย์ และค่าที่เป็นตัวอักษร • 0_ ทำให้เลขห่างจากขอบขวา 1 เคาะ • 0" บาท" ทำให้เลข 100 แสดงออกมาว่า 100 บาท • "รวม "0" บาท" ทำให้เลข 100 แสดงออกมาว่า รวม 100 บาท
"OK "#,##0;"Reject "-#,##0;"Non "0000;"Wrong" ทำให้เลข 1234 แสดงออกมาว่า OK 1,234ทำให้เลข -1234 แสดงออกมาว่า Reject -1,234ทำให้เลข 0 แสดงออกมาว่า Non 0000ทำให้ตัวอักษรใดๆ แสดงออกมาว่า Wrong • Text Format ทำให้ตัวเลขยังคงเป็นตัวเลขอยู่แม้ว่าจะแสดงผลร่วมกับตัวอักษร จึงยังสามารถนำตัวเลขไปคำนวณต่อได้ (ซึ่งต่างจากการใช้ Text Formula (&) และ Text Function เปลี่ยนตัวเลขให้กลายเป็นรูปแบบตัวอักษร ไม่สามารถนำไปคำนวณต่อ)
$ • #,##0.00_) • ; • [Red] • ($#,##0.00)
กำหนดรูปแบบวัน/เวลา • d-m-Y • h:m:h • AM/PM • ว-ด-ป
VLOOKUP รูปแบบฟังก์ชั่น = VLOOKUP(Lookup_value,table _array,Col_index_num) • Lookup_value : ค่าที่จาค้น • Table_array: ตารางข้อมูล • Col_index_num: คลอลัมน์ข้อมูล
บริษัทแห่งมีพนักงานหลายคน โดยพนักงานแต่ละคนมีอายุที่เท่ากัน และไม่ • เท่ากัน ซึ่งทางบริษัทต้องการประเมินว่า ช่วงความถี่ของอายุพนักงานมีเท่า • ใดบ้าง
การแจกแจงความถี่ รูปแบบฟังก์ชั่น =FREQUENCY(Date_array,Bins_array) • Date_array : ช่วงข้อมูลที่อ้างอิงไปยังชุดของค่าที่กำหนดไว้ • Bins_array : ช่องความถี่ที่กำหนดขึ้น
การจัดลำดับข้อมูล • ตัวอย่าง • บริษัทต้องการจัดลำดับพนักงาน ซึ่งการจัดลำดับพิจารณาจากยอดขายที่พนักงาน • คนนั้นๆ ขายได้รวมกับเงินเดือน ซึ่งจัดเรียงลำดับจากค่ามากไปหาน้อยที่สุด โดยที่ • จะต้องทำการรวมยอดขายและเงินเดือนเสียก่อน เพื่อเพิ่มเงินพิเศษให้อีกด้วย ซึ่งทาง • บริษัทมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาคือ • l หากยอดขายมากกว่า 300,000 บาท ให้นำ “ยอดขาย” + “เงินเดือน” *10% • l หากยอดขายมากกว่า 250,000 บาท แต่น้อยกว่า 300,000ให้นำ “ยอดขาย” + • “เงินเดือน” *9% • l หากยอดขายมากกว่า 200,000 บาท แต่น้อยกว่า 250,000 ให้นำ “ยอดขาย” + • “เงินเดือน” *8% • l หากยอดขายมากกว่า 100,000 บาท แต่น้อยกว่า 200,000 ให้นำ “ยอดขาย” + • “เงินเดือน” *7% • l หากยอดขายมากกว่า
การจัดลำดับข้อมูล • l รูปแบบฟังก์ชั่น • =Rank(D4,$D$4:$D$12) • =Rank(Number,Ref,Order) • Number : ตัวเลขที่ต้องการจัดลำดับ • Ref : ช่วงข้อมูลหรือ อาร์เรย์ของรายการตัวเลขที่อ้างอิง • Order :ตัวเลขที่ระบุวิธีเรียงลำดับ ซึ่งได้เป็น 0 กับ 1 • 0 หมายถึงการเรียงจากน้อยไปมาก • 1 หมายถึงการเรียงจากมากไปน้อย
การคิดค่าเสื่อมราคาแบบเท่ากันการคิดค่าเสื่อมราคาแบบเท่ากัน รูปแบบฟังก์ชั่น =SLN(Cost,Salvage,Life) • Cost = ต้นทุนสินทรัพย์ • Salvage = มูลค่าซาก • Life = อายุการใช้งาน
ตัวอย่าง การคิดค่าเสื่อมราคาแบบเท่ากัน • นายเลิศ รักการดี ได้ซื้อชุดโฮมเธียเตอร์มาด้วยราคา 78,000 บาท เมื่อ3ปี • ก่อน และในขณะนี้เขาต้องการขายเป็นสินค้ามือสองในราคา 56,000บาท • โดยเขาต้องการทราบว่า หากตั้งราคาขายดังกล่าวจะได้ค่าเสื่อมราคาเท่าไร
การคิดค่าเสื่อมราคาแบบเร่งรัดการคิดค่าเสื่อมราคาแบบเร่งรัด รูปแบบฟังก์ชั่น =SYD(Cost,Salvage,Life,Per) • Cost = ต้นทุนสินทรัพย์ • Salvage = มูลค่าซาก • Life = อายุการใช้งาน • Per = ปีที่จะคิดค่าเสื่อมราคา
การคิดค่าเสื่อมราคาแบบเร่งรัดการคิดค่าเสื่อมราคาแบบเร่งรัด • ค่าเสื่อมราคาปีที่2 =SYD(F3,F4,F5,2) • 7,333 บาท
ตัวอย่าง การคิดค่าเสื่อมราคาแบบอัตราเร่งรัด นายมนัส เหลืองวิลาศ ได้ซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ราคา 78,000 บาท ในปัจจุบันต้องการขายในราคา 56,000 บาท(มีอายุการใช้งานมาแล้ว 3 ปี) โดยเขาต้องการทราบว่า ค่าเสื่อมราคาเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องนี้ในปีที่2 มีค่าเท่าใด • หลักการคิด à อายุการใช้งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ 3 ปี • ค่าตัวเลขที่ใช้ในการหาร = 1+2+3 เท่ากับ 6 ดังนั้นมูลค่าทรัพย์สินหลังจาก • หักมูลค่าซากแล้วได้ 78,000 – 56,000 = 22,000 บาท • ค่าเสื่อมราคาปีที่1 = 22000*(3/6) = 11,000 บาท • ค่าเสื่อมราคาปีที่2 = 22000*(2/6) = 7,333 บาท • ค่าเสื่อมราคาปีที่3 = 22000*(1/6) = 3,667 บาท
การคิดค่าเสื่อมราคาแบบอัตราเร่งรัด กรณีที่2 สูตรฟังก์ชั่น l =SYD(B$3,B$4,B$5,(VALUE(RIGHT($A7)))) • l $ หมายถึงการบังคับค่าเซลล์ไม่ให้มีการเคลื่อนที่ได้ • l Value มีหน้าที่ในการแปลงตัวเลขที่พิมพ์ไว้แบบตัวอักษรให้กลายเป็นตัวเลข • l Right แสดงข้
การคิดค่าเสื่อมราคาแบบอัตราเร่งรัด กรณีที่2 • นางสาวกานต์ ซื้อรถยนต์มาในราคา 980,500 บาท เมื่อ5ปีที่แล้ว ซึ่งปัจจุบัน • ต้องการขายในราคา 650,000 บาท โดยเขาต้องการคิดค่าเสื่อมราคาเพื่อดู • อัตราค่าเสื่อมในแต่ละปี ตั้งแต่ปีที่ 1-5โดยแจกแจงในแต่ละปี
การคิดค่าเสื่อมราคาแบบอัตราเท่ากันของทรัพย์สินการคิดค่าเสื่อมราคาแบบอัตราเท่ากันของทรัพย์สิน รูปแบบฟังก์ชั่น =DDB(Cost,Salvage,Life,Per,Factor) • Cost = ต้นทุนสินทรัพย์ • Salvage = มูลค่าซาก • Life = อายุการใช้งาน • Per = ปีที่จะคิดค่าเสื่อมราคา • Factor = อัตราการเสื่อมสมดุล
การคิดค่าเสื่อมราคาแบบอัตราเร่งรัด กรณีที่2
การคิดค่าเสื่อมราคาแบบอัตราเร่งรัด กรณีที่2 • -อัตราค่าเสื่อมในแต่ละปี ตั้งแต่ปีที่ 1-5โดยแจก • แจงในแต่ละปี
การคิดค่าเสื่อมราคาแบบอัตราเร่งรัด กรณีที่2