1 / 23

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ( TQF:HEd )

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ( TQF:HEd ). อาจารย์สุภาพร พงษ์มณี ผู้อำนวยการสำนักวิชาการ อบรมอาจารย์ใหม่ มหาวิทยาลัยสยาม ๑๐ กันยายน ๒๕๕๔. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ การปฏิรูปการศึกษา/ ปรับเปลี่ยนวิธีการสอน TQF:HEd

Download Presentation

กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ( TQF:HEd )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ(TQF:HEd)กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ(TQF:HEd) อาจารย์สุภาพร พงษ์มณีผู้อำนวยการสำนักวิชาการ อบรมอาจารย์ใหม่ มหาวิทยาลัยสยาม ๑๐ กันยายน ๒๕๕๔

  2. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ การปฏิรูปการศึกษา/ ปรับเปลี่ยนวิธีการสอน TQF:HEd (Thai Qualifications Framework for Higher Education) Learning Outcomes

  3. วัตถุประสงค์ TQF:HEd • กำหนด มาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิตที่คาดหวัง(Learning Outcomes) • เชื่อมโยงระดับคุณวุฒิต่างๆ • เกิดวัฒนธรรมคุณภาพในสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาการเรียนการสอน การประเมินผลการเรียนรู้ • การกำกับดูแลคุณภาพการผลิตบัณฑิตกันเองของแต่ละสาขา/สาขาวิชา • เทียบเคียงมาตรฐานคุณวุฒิระหว่างสถาบัน ใน/ต่างประเทศ

  4. มาตรฐานผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง*มาตรฐานผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง* • ด้านคุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Moral) • ด้านความรู้ (Knowledge) • ด้านทักษะทางปัญญา (Cognitive Skills) • ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ(Interpersonal Skill and Responsibility) • ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี (Numerical Analysis, Communication and IT Skills) • * เป็น L.O. ของทุกระดับคุณวุฒิแต่มีความซับซ้อนเพิ่มขึ้นตามระดับคุณวุฒิ

  5. สาขาที่ต้องการทักษะทางกายภาพสูง ได้แก่ การเต้นรำ ดนตรี การวาดภาพ พลศึกษา การแพทย์ และวิทยาศาสตร์การแพทย์ ........เพิ่มด้านที่ ๖ ด้านทักษะพิสัย (Domain of Psychomotor Skill)

  6. วิธีการพัฒนาผลการเรียนรู้วิธีการพัฒนาผลการเรียนรู้ • การเรียนการสอน • การเข้าร่วมกิจกรรมในหลักสูตร • การเข้าร่วมกิจกรรมนอกหลักสูตร

  7. การปฏิบัติตามกรอบ มคอ. (TQF:HEd) • มคอ.๑ มาตรฐานคุณวุฒิระดับการศึกษา.... สาขา/สาขาวิชา.... • มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาพยาบาลศาสตร์ พ.ศ.๒๕๕๒ • มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๒ • มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาโลจิสติกส์ พ.ศ.๒๕๕๒ • มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการโรงแรมและการท่องเที่ยว พ.ศ.๒๕๕๓ • มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ พ.ศ.๒๕๕๓ • มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการบัญชี พ.ศ.๒๕๕๓ • มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ (หลักสูตรห้าปี) พ.ศ.๒๕๕๔ • มคอ.๒ รายละเอียดของหลักสูตร

  8. การปฏิบัติตามกรอบ มคอ. (TQF:HEd) (ต่อ) • มคอ.๓ รายละเอียดของรายวิชา • มคอ.๔ รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม • มคอ.๕ รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา • มคอ.๖ รายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม • มคอ.๗ รายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร • ดาวน์โหลดแบบฟอร์มได้ที่ www.academic.siam.edu

  9. มคอ.๓ รายละเอียดของรายวิชา

  10. มคอ.๓ รายละเอียดของรายวิชา เค้าโครงการสอน (เดิม) + การพัฒนาผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของบัณฑิต

  11. หมวดที่ ๓ จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ จำนวนหน่วยกิต (จำนวนชั่วโมงบรรยาย-ปฏิบัติการ-ค้นคว้าด้วยตนเอง) ๑ หน่วยกิตทฤษฎี = ๑ ช.ม.บรรยาย + ๒ ช.ม.ค้นคว้าด้วยตนเอง ๑ หน่วยกิตปฏิบัติการ = ๒ หรือ ๓ ช.ม.ปฏิบัติ + ๑ ช.ม.ค้นคว้าด้วยตนเอง ตัวอย่าง วิชา ๑๒๑-๑๐๑เทคโนโลยีสารสนเทศ ๓ หน่วยกิต ประกอบด้วย ๒ หน่วยกิตบรรยายและ ๑ หน่วยกิตปฏิบัติ ๓ (๒-๒-๕) ๓ หน่วยกิตบรรยาย ๓(๓-๐-๖) ๑ หน่วยกิตปฏิบัติการ ๑(๐-๒-๑)

  12. หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา • ทักษะทั้ง ๕ ด้าน (อย่างน้อย) • คุณธรรม จริยธรรม • ความรู้ • ปัญญา • ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ • ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี • วิธีการสอนเพื่อพัฒนาแต่ละทักษะ : การสอน & กิจกรรม(ใน-นอก ห้องเรียน) • วิธีการประเมินผลของแต่ละทักษะ

  13. วิธีการสอนแต่ละทักษะผลการเรียนรู้วิธีการสอนแต่ละทักษะผลการเรียนรู้ • การบรรยาย • การอภิปราย • Seminar • การสอนโดยการนิรนัย (Deductive) • การสอนโดยการอุปนัย (Inductive) • การใช้กรณีศึกษา (Case) • การแสดงบทบาทสมมุติ • ภาคสนาม • การไปทัศนศึกษา • การใช้สถานการณ์จำลอง • การสาธิต • การทดลอง ๑๓. การเรียนแบบออนไลน์ ๑๔. การฝึกงาน ๑๕.การสอนโดยใช้วิจัยเป็นฐาน ๑๖. การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) ๑๗.การศึกษาค้นคว้าโดยอิสระ (I S) ๑๘. การระดมสมอง (Brain storming) ๑๙. การฝึกปฏิบัติ ๒๐. การเรียนรู้จากบุคคลต้นแบบ/ปราชญ์ ๒๑.การสะท้อนความคิด (Reflective thinking) ……. ……. รายละเอียดเพิ่มเติม www.academic.siam.edu

  14. วิธีการประเมินผล • การสอบข้อเขียน • การสอบปากเปล่า • การสอบทักษะ • การประเมินกระบวนการทำงาน/บทบาทในการทำกิจกรรม • การประเมินผลงาน • การประเมินโดยเพื่อน (peer Assessment) • การเข้าชั้นเรียน • การนำเสนอผลงาน • การประเมินแฟ้มพัฒนางาน/แฟ้มสะสมงาน • อื่นๆ .......... • รายละเอียดเพิ่มเติม www.academic.siam.edu

  15. หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล • แผนการประเมินการเรียนรู้ • หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน • หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา

  16. มคอ.๔ รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม

  17. ประกอบด้วย ๗ หมวด ดังนี้ หมวดที่ ๑ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ ๒จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ หมวดที่ ๓การพัฒนาผลการเรียนรู้ หมวดที่ ๔ลักษณะและการดำเนินการ หมวดที่ ๕การวางแผนและการเตรียมการ หมวดที่ ๖การประเมินนักศึกษา หมวดที่ ๗การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการ ของการฝึกประสบการณ์ภาคสนาม

  18. มคอ. ๕ รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา

  19. มคอ. ๕ รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา รายงานการจัดการเรียนการสอนเปรียบเทียบกับแผนการสอน หมวดที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ ๒ การจัดการเรียนการสอนเปรียบเทียบกับแผนการสอน หมวดที่ ๓ สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา หมวดที่ ๔ ปัญหาและผลกระทบต่อการดำเนินการ หมวดที่ ๕ การประเมินรายวิชา หมวดที่ ๖ แผนการปรับปรุง

  20. มคอ.๖ รายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม

  21. ตัวอย่าง

  22. วัตถุประสงค์ TQF:HEd • กำหนด มาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิตที่คาดหวัง(Learning Outcomes) • เชื่อมโยงระดับคุณวุฒิต่างๆ • เกิดวัฒนธรรมคุณภาพในสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาการเรียนการสอน การประเมินผลการเรียนรู้ • การกำกับดูแลคุณภาพการผลิตบัณฑิตกันเองของแต่ละสาขา/สาขาวิชา • เทียบเคียงมาตรฐานคุณวุฒิระหว่างสถาบัน ใน/ต่างประเทศ

  23. ติดต่อ สำนักวิชาการ โทร ๑๖๕ www.academic.siam.edu อาจารย์สุภาพร พงษ์มณี ผู้อำนวยการสำนักวิชาการ มหาวิทยาลัยสยาม

More Related