1 / 101

ผศ . ดร . เรณู พุกบุญมี ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 6 ธันวาคม 2549

การพัฒนาคุณภาพ การปฏิบัติการพยาบาล. ผศ . ดร . เรณู พุกบุญมี ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 6 ธันวาคม 2549. การปฏิบัติการพยาบาล ในระบบสุขภาพใหม่. เน้นการดูแลในระดับปฐมภูมิ เปลี่ยนจุดเน้นจากโรงพยาบาล สู่ชุมชน

ward
Download Presentation

ผศ . ดร . เรณู พุกบุญมี ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 6 ธันวาคม 2549

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติการพยาบาลการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติการพยาบาล ผศ.ดร.เรณู พุกบุญมี ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 6 ธันวาคม 2549

  2. การปฏิบัติการพยาบาล ในระบบสุขภาพใหม่ • เน้นการดูแลในระดับปฐมภูมิ • เปลี่ยนจุดเน้นจากโรงพยาบาล สู่ชุมชน • เน้นการจัดการกับผู้ป่วยเรื้อรัง และการดูแลที่ต่อเนื่อง

  3. เน้นจริยธรรม • ส่งเสริมการทำงานแบบ สหวิทยาการ • ส่งเสริมการใช้สารสนเทศ และเครือข่ายข้อมูล • เพิ่มการพัฒนาและใช้แนวปฏิบัติ ในคลินิก(CPG) และEBP

  4. เน้นบริการที่มีคุณภาพเน้นบริการที่มีคุณภาพ • เน้นการใช้จ่ายที่คุ้มค่า • เน้นผลลัพธ์การพยาบาล • เน้นการตอบสนองความต้องการและความพึงพอใจของผู้รับบริการ

  5. แนวคิดหลักในระบบการบริการสุขภาพแนวคิดหลักในระบบการบริการสุขภาพ • คุณภาพการดูแล* • ความคุ้มค่า-คุ้มประโยชน์ • ความเท่าเทียมกันในการเข้าถึงการบริการที่มีคุณภาพ

  6. คุณภาพ • คุณลักษณะที่เป็นไปตามมาตรฐานที่เหมาะสม • ปราศจากข้อผิดพลาด • ทำให้เกิดผลลัพธ์ที่ดี • ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ/ เป็นที่พึงพอใจ

  7. กรอบแนวคิดในเรื่องคุณภาพกรอบแนวคิดในเรื่องคุณภาพ Process Structure Outcome • Physical Health Status • Mental Health Status • Social & Physical Function • Health Attitudes/knowledge/behavior • Utilization of Professional Health resources • Patient’s Perception of Quality Care • Human Resources • Environmental Resources • Organizational Resources • Physical Resources • Standards of Practice • Activities • Interventions (Donabedian in Hodges et al., 1994)

  8. คุณภาพเชิงโครงสร้าง/ structure • อัตรากำลังของบุคลากร staffing • สัดส่วนของบุคลากรหลายระดับ skill mix (APN & อื่นๆ) • จำนวนเวลาที่ผู้ป่วยได้รับการดูแล nursing system (PNS, CM) • มาตรฐานการพยาบาล CNPG & EBNP & OM/CQI

  9. Staffing • การจัดจำนวนและประเภทของบุคลากรตามที่ต้องการเพื่อให้การดูแลผู้ป่วยหรือ ผู้รับบริการ/ การจัดอัตรากำลัง (Glovannetti, 1978; McGillis Hall, 2005) “Safe Staffing Saves Lives”(ICN, 2006)

  10. Relationship Between Nurse Staffing and Patient Outcomes • Patient mortality increased 7% for every additional patient that is added to the average nurse’s workload. • A hospital with an average patient-per-nurse ratio of 8:1 has a 31% higher mortality rate than a hospital with a ratio of 4:1. JAMA, October 23/30, 2002, 1987-1993

  11. Did you know…? Facts of Safe Staffing • Research found that fewer nurses at night was linked to an increased risk for specific postoperative pulmonary complications, higher fall rates and lower patient satisfaction levels with pain management. Health Affairs, May-June, 2001, 43-53

  12. A richer registered nurse skill mix leads to • lower patient morbidity and mortality, • reduced incidences of adverse events, shorter hospital lengths of stay, • higher patient satisfaction. Health Affairs, May-June, 2001, 43-53

  13. A cross­sectional analysis of medical and surgical patients: a higher proportion of hours of care per day and a greaternumber of hours of care by RNs per day a shorter length of stay, lower rates of UTI, upper GI bleed, pneumonia, shock and cardiac arrest· Health Affairs, May-June, 2001, 43-53

  14. Safe Staffing Saves Lifes - มีจำนวนบุคลากรที่เหมาะสม มีระดับความ สามารถที่หลากหลายเหมาะสมกับลักษณะงาน - มีความพร้อมในการดูแลช่วยเหลือผู้ป่วย เพื่อสร้างความมั่นใจว่าความต้องการของผู้ป่วยได้รับการตอบสนองอย่างมีคุณภาพ- ปฏิบัติงานภายใต้สภาพแวดล้อมการทำงานที่ปลอดภัย ปราศจากอันตรายหรือความรุนแรง ICN, 2006

  15. Safe Staffing สะท้อน การดำรงรักษา คุณภาพการดูแลผู้ป่วยชีวิตการทำงานของพยาบาล และผลลัพธ์ขององค์กร (The North Carolina Nurses Association, 2005 Cited in ICN, 2006)

  16. องค์ประกอบของ staffing 1. การคำนวณอัตรากำลังที่ต้องการ 2. การจัดและการกระจายอัตรากำลัง 3. การวัดผลิตผลของงาน

  17. 1. การคำนวณอัตรากำลัง : NHPPD • เกณฑ์การจำแนกประเภทผู้ป่วย (Warstler, 1970) ประเภทผู้ป่วย ชม.ความต้องการ/วัน 5. Intensive Care 12 4. Modified Intensive Care 7.5 3. Intermediate Care 5.5 2. Minimal Care 3.5 1. Self Care 1.5

  18. ประเภทผู้ป่วย NHPPD/วัน N : Pt 5 12 1 : 1 – 2 4 7.5 1 : 3 – 4 1 – 3 1.5 , 3.5 , 5.5 1 : 8 - 10 • 2. การจัดและการกระจายอัตรากำลังพยาบาล การกำหนดมาตรฐานสัดส่วนพยาบาลต่อผู้ป่วย

  19. 3. การวัดผลิตผลของงาน(N.Productivities) สูตรคำนวณ N.Productivity จำนวนชั่วโมงความต้องการการพยาบาลของผู้ป่วย X 100 = • การแปลความหมาย (N.Productivity %) 90 – 110 = คนเหมาะสมกับงาน < 90 = คนเกินงาน > 110 = คนน้อยเกินไป จำนวนชั่วโมงที่พยาบาลทำงาน (กฤษดา แสวงดี, 2545)

  20. Functional Method Case Method Team Method Primary Nursing Nursing delivery system

  21. Case Method • Earliest form of nursing care • Develop a sense of trust • One-to-one basis • Response for her shift only • As the vehicle for teaching patient care to student • . The 1st Phase

  22. Functional Method • One man for one task • Attention to quantity more than quality • No continuity of care • The whole was fractured into parts. • Dehumanized patient care The 2nd Phase

  23. Team Method • Start during WW II • Acute nursing shortages • Care is assigned by team leader and provided by one or more team members • Team leader..super woman The 3rd Phase

  24. Task oriented Functional Method Case Method Team Method

  25. Nurse’s needs for a sense of success with care, daily growth. Autonomy, Authority &Accountability.

  26. Holistic Nursing Care Nursing Goal

  27. การพยาบาลแบบองค์รวม(Holistic Nursing) สิ่งแวดล้อม สุขภาพ แบบองค์รวม บุคคล องค์รวม

  28. การพยาบาลแบบองค์รวม(Holistic Nursing) Person-centered Care

  29. Holistic Nursing Approach Providing total bio-psycho-social care

  30. Primary Nursing Started at 1970 My nurse-My patient The 4th Phase

  31. Primary Nurse A Triple Nurse • Autonomy • Accountability • Authority

  32. Primary Nursing ครอบครัว หัวหน้าหอผู้ป่วย พยาบาลผู้ร่วมดูแล แพทย์ เจ้าของไข้ พยาบาลเจ้าของไข้ ผู้ป่วย หน่วยงานในโรงพยาบาล แพทย์ที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานในชุมชน

  33. Primary Nursing • Person centered care • Accountability of patient care • Continuity of patient care • Comprehensive of patient care • Mobilize resource for patient care • Nursing staff development

  34. Primary Nursing System Improve Quality of Care

  35. Skill Mix • การมีจำนวนบุคลากรพยาบาลที่พอดี กับภาระงาน และมีการผสมผสานระดับ ทักษะ ที่เหมาะสมในการดูแลผู้ป่วยให้เกิด ความปลอดภัยตลอดเวลา

  36. การจัดและการกระจายอัตรากำลังพยาบาลการจัดและการกระจายอัตรากำลังพยาบาล วัตถุประสงค์ • ให้จำนวนคนสมดุลกับงาน • ให้มี Skill Mix ของบุคลากรต่างระดับต่างความสามารถที่ร่วมทีมการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วย : APN : RN : TN : PN/NA • บุคลากรสามารถตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการได้เหมาะสม

  37. APN: การเพิ่มคุณภาพการปฏิบัติการพยาบาล • มีความเชี่ยวชาญทางคลินิกเป็นพื้นฐาน • ให้การบริการแบบองค์รวม • สร้างการมีส่วนร่วมของผู้ป่วย ผู้ใช้บริการ • ชำนาญในการใช้เหตุผล การตัดสินใจและ มีทักษะทางคลินิกสูง

  38. ใช้ผลงานวิจัยเป็นแนวทางในการปฏิบัติใช้ผลงานวิจัยเป็นแนวทางในการปฏิบัติ • จัดการบริการสุขภาพ และ ความเจ็บป่วยที่หลากหลาย โดยมุ่งผลลัพธ์ของการบริการ • สร้าง Best practice สร้างนวตกรรม และระบบ • สร้างความรู้จากการปฏิบัติ ถอดบทเรียน

  39. พัฒนาการการเข้าสู่สังคมของการปฏิบัติการพยาบาลพัฒนาการการเข้าสู่สังคมของการปฏิบัติการพยาบาล 1. Novice nurse 2. Advanced beginner nurse 3. Competent nurse 4. Proficient nurse 5. Expert nurse (พยาบาลชำนาญการ) Advanced Practice Nurse

  40. APNs (ANA, 1996) • manifest a high level of expertise in the assessment, diagnosis, and treatment of the complex responses of individuals, families, or communities to actual or potential health problems, prevention of illness and injury, maintenance of wellness, and provision of comfort.

  41. APNs (ANA, 1996) • has a master’s education concentrating in a specific area of advanced nursing practice • the difference in practice related to a greater depth and broadth of knowledge, a greater degree of synthesis of data, and complexity of skills and intervention.

  42. APN : CNS & NP ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงใน Thailand ขณะนี้

  43. Clinical Nurse Specialist : CNS • specialist in nursing practice • a role of master’s prepare expert nurse • developed in response to a perceived need to improve nursing care during a period of rapid knowledge and technology growth

  44. practice as expert clinician, educator, consultant, change agent, researcher and as collaborator in the inpatient setting. • traditionally practiced in the acute care setting

  45. Nurse Practitioner : NP • a registered nurse with clinical expertise in …... Nursing: (Family NP, Community NP) • received master’s preparation program,

  46. Nurse Practitioner : NP • is responsible for assessment and management of patients, including diagnostic, treatment and prevention. • typically functioned in the outpatient setting and community

  47. Competencies of APNs • Expert clinical practice • Teaching, coaching, guidance skills adaptable to individuals, families,or groups • Consultation • Clinical leadership • Change agent

  48. Competencies of APNs • Evidence-based practice • Conduct Clinical Research • Collaboration (Intra-Inter -multidisciplinary) • Ethical decision making • Evaluation of outcomes • Quality assurance

  49. การกำหนดให้มี APN ในองค์กร: การบริหารการพยาบาล สู่ความเป็นเลิศ

  50. Knowledge-Based Society ศตวรรษที่ 21

More Related