1 / 46

การฆ่าตัวตาย

การฆ่าตัวตาย. วิทยากร พ.ญ.กมลเนตร วรรณเสวก 26 ธ.ค.2549. การฆ่าตัวตายหรือพยายามฆ่าตัวตายเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของไทยซึ่งมีแนวโน้มสูงขึ้น จากสถิติผู้ที่พยายามฆ่าตัวตายและฆ่าตัวตายสำเร็จรวมกัน ที่มารับบริการ ณ สถานบริการสาธารณสุขช่วงปีพ.ศ.2540-2544 เพิ่มจาก 27.4 เป็น 36.4 ต่อประชากรแสนคน.

ora-ramirez
Download Presentation

การฆ่าตัวตาย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การฆ่าตัวตาย วิทยากร พ.ญ.กมลเนตร วรรณเสวก 26 ธ.ค.2549

  2. การฆ่าตัวตายหรือพยายามฆ่าตัวตายเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของไทยซึ่งมีแนวโน้มสูงขึ้นการฆ่าตัวตายหรือพยายามฆ่าตัวตายเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของไทยซึ่งมีแนวโน้มสูงขึ้น • จากสถิติผู้ที่พยายามฆ่าตัวตายและฆ่าตัวตายสำเร็จรวมกัน ที่มารับบริการ ณ สถานบริการสาธารณสุขช่วงปีพ.ศ.2540-2544 เพิ่มจาก 27.4 เป็น 36.4 ต่อประชากรแสนคน

  3. การฆ่าตัวตายเป็นปรากฏการณ์ที่มีผลกระทบอย่างสูงต่อทั้งผู้กระทำ ผู้ใกล้ชิดและสังคมนั้นๆ • การฆ่าตัวตายก่อความสูญเสียในด้านต่างๆ มากมาย ตัวอย่างเช่น • การเสียชีวิตก่อนวัยอันควร

  4. การสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาความเจ็บป่วยทางร่างกายจากการทำร้ายตนเอง และ • การมีผลกระทบต่อจิตใจของญาติและผู้ใกล้ชิด อาจทำให้พวกเขาไม่สามารถทำงานหรือหย่อนประสิทธิภาพลง

  5. ในด้านความสูญเสียแก่ประเทศในเชิงเศรษฐกิจ • ในประเทศไทยซึ่งวัยที่พบการเสียชีวิตจากการฆ่าตัวตายมากที่สุดในช่วงอายุ 20-40 ปี ซึ่งเป็นวัยหลักในการก่อผลผลิตให้แก่ประเทศ , มีผลกระทบต่อครอบครัวอย่างสูง

  6. พบว่าโดยเฉลี่ยแล้วการเสียชีวิตจากการฆ่าตัวตายแต่ละครั้งมีผลกระทบต่อคนใกล้เคียงอย่างน้อย 6 คน (WHO 2000) • หากเหตุการณ์เกิดขึ้นในโรงเรียนหรือโรงงานก็จะมีผลกระทบต่อคนได้เป็นจำนวนร้อย

  7. แม้ในผู้ที่พยายามฆ่าตัวตายแต่ยังไม่ถึงแก่ชีวิต ก็ยังมีความสูญเสียจากการที่ต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล การเกิดภาวะแทรกซ้อน หรือพิการทุพพลภาพ ตลอดจนปัญหาสุขภาพจิตของครอบครัวและผู้ใกล้ชิด • ในระดับสังคมจัดว่าเป็นการสูญเสียทั้งแรงงานการผลิตและค่าใช้จ่ายในการรักษา

  8. การศึกษาอัตราการฆ่าตัวตายทุก 5 ปี

  9. คิดเป็นจำนวนคนที่เสียชีวิตได้เท่ากับ 4,100-5,200 คนต่อปี หากป้องกันได้จะดีกว่ามั้ย?

  10. กระทรวงสาธารณสุขได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาการฆ่าตัวตาย จึงได้กำหนดให้เรื่องการป้องกันและแก้ไขปัญหาการฆ่าตัวตาย เป็นหนึ่งในนโยบายหลักของกระทรวง • ตัวชี้วัดความสำเร็จ “ภายในปี 2549 อัตราการฆ่าตัวตายของประเทศไทยต้องไม่เกิน 7.7 ต่อแสนประชากร”

  11. ความเชื่อเก่าๆ(ซึ่งผิด)เกี่ยวกับการฆ่าตัวตายความเชื่อเก่าๆ(ซึ่งผิด)เกี่ยวกับการฆ่าตัวตาย • ผู้ที่ฆ่าตัวตายสำเร็จเป็นคนอ่อนแอ สติฟั่นเฟือน • วิธีการที่ดีป้องกันการฆ่าตัวตายได้อย่างแน่นอน. • ผู้ที่พูดถึงการฆ่าตัวตายจะไม่ฆ่าตัวตายจนสำเร็จ. • ผู้ที่ขู่จะฆ่าตัวตาย,กรีดข้อมือหรือพยายามฆ่าตัวตายแต่ไม่สำเร็จไม่เสี่ยงที่จะฆ่าตัวตาย

  12. ความเชื่อเก่าๆ(ซึ่งผิด)เกี่ยวกับการฆ่าตัวตายความเชื่อเก่าๆ(ซึ่งผิด)เกี่ยวกับการฆ่าตัวตาย • การพูดคุยถึงการฆ่าตัวตายกับผู้ที่จิตใจว้าวุ่น จะเป็นการทำให้ผู้นั้นเริ่มคิดถึงการฆ่าตัวตายขึ้นมา • ผู้ที่ซึมเศร้ามากๆไม่มีเรี่ยวแรงที่จะฆ่าตัวตายจนสำเร็จ • ผู้ที่ฆ่าตัวตายสำเร็จมักไม่มีสัญญาณเตือนมาก่อน

  13. จริงๆแล้ว • ที่เราเคยเชื่อกันผิดๆว่าหากเราถามผู้ป่วยเกี่ยวกับเรื่องการฆ่าตัวตาย จะทำให้เขาคิดถึงการฆ่าตัวตายมากขึ้นและจะพยายามกระทำ • แต่จริงๆแล้ว ผู้ป่วยมักคาดหวังว่าจะถูกถามถึง และมักจะรู้สึกผ่อนคลายลงเมื่อถูกถาม

  14. Risk factors for suicide • ชาย,สูงอายุ • มีโรคทางจิตเวช • เจ็บป่วยด้วยโรคทางกาย • หม้าย,หย่าร้างหรือแยกกันอยู่ • อยู่คนเดียว • เพิ่งเกิดการสูญเสีย • ว่างงาน • มีปัญหาเรื่องเงิน/กฎหมาย • มีอาวุธปืนในครอบครอง

  15. Risk factors for suicide • มีประวัติครอบครัวเรื่องการฆ่าตัวตายหรือโรคทางจิตเวช • มีประวัติว่าสภาพครอบครัวในวัยเด็กสับสนวุ่นวาย • เคยพยายามฆ่าตัวตายมาก่อน • มีความคิดฆ่าตัวตายหรือความตั้งใจฆ่าตัวตาย • สิ้นหวัง

  16. Common suicide risk factors across diagnosis • Depression: present in all diagnoses • Anxiety/agitation/panic attacks : respond rapidly to targeted treatment • Alcohol/substance abuse • Hopelessness : severity is important

  17. Management • Pre-suicidal attempt ก่อนทำ • ตระหนักถึง warning sign • Management in suicidal crisis • Post-suicidal attempt หลังทำ • การประเมิน • การรักษา • ประเมินความเสี่ยงของการฆ่าตัวตายซ้ำ • การดูแลในแผนกผู้ป่วยใน

  18. สัญญาณเตือนถึงการฆ่าตัวตายSuicide Warning Signs • พูดคุยถึงการฆ่าตัวตายสำเร็จ • มีปัญหาการกินหรือการนอน • พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจน • แยกตัวออกจากกลุ่มเพื่อนหรือกิจกรรมทางสังคมต่างๆ • ไม่สนใจงานอดิเรกที่เคยชอบ, งานที่เคยทำ, การเรียน ฯลฯ • เตรียมตัวที่จะตายโดยจัดการภาระสุดท้าย • ยกสมบัติส่วนตัวให้แก่ผู้อื่น

  19. สัญญาณเตือนถึงการฆ่าตัวตาย(ต่อ)Suicide Warning Signs • เคยพยายามฆ่าตัวตายมาก่อน • ทำสิ่งที่สี่ยงภัยโดยไม่จำเป็น • เพิ่งมี/เคยมีการสูญเสียที่รุนแรงในชีวิต • หมกมุ่นเรื่องความตายและการตาย • ไม่สนใจรูปลักษณ์ภายนอกของตนเอง • ดื่มเหล้าหรือใช้สารเสพติดมากขึ้น

  20. สิ่งพึงกระทำเมื่อพบวิกฤตฉุกเฉินเรื่องการฆ่าตัวตาย(suicidal crisis) • Recognize the clues to suicide • Trust your own judgement • Tell others • Stay with a suicidal person • Listen • Urge professional help • Be supportive

  21. สิ่งไม่พึงกระทำเมื่อพบวิกฤตฉุกเฉินเรื่องการฆ่าตัวตาย(suicidal crisis) • อย่ายอมสัญญาสาบานกับผู้ป่วยว่าจะเก็บเรื่องการฆ่าตัวตายเป็นความลับ คุณอาจต้องยอมเสียเพื่อนเพื่อรักษาชีวิตเพื่อน • อย่าปล่อยให้เขาอยู่คนเดียว • อย่ามัวแต่ตระหนกตกใจกับสิ่งที่เขาบอกคุณ • ไม่ต้องให้คำปรึกษาแก่เขาด้วยตนเอง • อย่าไปโต้เถียงว่าการฆ่าตัวตายเป็นสิ่งผิดหรือถูก

  22. การประเมินการฆ่าตัวตายการประเมินการฆ่าตัวตาย • ถ้ามี acute risk of suicide ต้องรีบประเมินทันที • สิ่งที่ต้องตัดสินใจเป็นอันดับแรก คือ “ต้องนอนโรงพยาบาลหรือไม่”

  23. การประเมินการฆ่าตัวตายการประเมินการฆ่าตัวตาย • Rule of Thumb: “ถ้าไม่แน่ใจ, admit ไว้ก่อน” • ไม่ว่าจะเป็น ครอบครัว,เพื่อนฯลฯ ก็ไม่สามารถรับประกันได้ว่าจะป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยฆ่าตัวตาย

  24. SAD PERSONSscale • Sex • Age • Depression • Previous attempt • Ethanol attempt • Rational thinking loss • Social support deficit • Organized plan • No spouse • Sickness

  25. Scores • 0-2 เสี่ยงต่ำLow risk • 3-4 ต้องติดตามอย่างใกล้ชิด • 5-6 ต้องพิจารณาอย่างจริงจังว่าจำเป็นต้องรับการรักษาในโรงพยาบาลจิตเวชหรือไม่ • 7-10 เสี่ยงสูงHigh risk

  26. สิ่งที่ต้องดูเพื่อประเมินการฆ่าตัวตายสิ่งที่ต้องดูเพื่อประเมินการฆ่าตัวตาย • ประเมินความคิดฆ่าตัวตายและดูความตั้งใจ • ประเมินแผนของการฆ่าตัวตาย • Risk-rescue ratio ต.ย.โอกาสที่จะได้รับการช่วยเหลือหากฆ่าตัวตาย • Level of planning ต.ย.การวางแผน

  27. สิ่งที่ต้องดูเพื่อประเมินการฆ่าตัวตายสิ่งที่ต้องดูเพื่อประเมินการฆ่าตัวตาย • ประเมินความรู้สึกสิ้นหวังว่ามากน้อยแค่ไหน • หาสิ่งที่อาจเป็นเหตุกระตุ้นให้ฆ่าตัวตาย • พิจารณาหา social support ที่พอจะมี • ตรวจสภาพจิต • รวบรวมประวัติจากคนใกล้ชิด ครอบครัว เพื่อน

  28. การช่วยเหลือ 7 ขั้นตอน เมื่อพบผู้ป่วยฆ่าตัวตายSeven Steps for Helping • ขอให้ถือว่าการฆ่าตัวตายเป็นเรื่องจริงจัง • ให้ถามว่าเกิดอะไรขึ้น เกิดเพราะอะไร • เสนอความช่วยเหลือ • เก็บ/เอาสิ่งที่สามารถใช้ทำร้ายตัวเองได้ออกไปให้หมด

  29. การช่วยเหลือ 7 ขั้นตอน เมื่อพบผู้ป่วยฆ่าตัวตายSeven Steps for Helping 5. อย่าปล่อยให้ผู้ที่ฆ่าตัวตายอยู่คนเดียว 6. พยายามค้นหาแง่บวกที่ยังมีและแสดงให้ผู้ป่วยเห็นว่ายังมีทางเลือก 7. ขอความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญ

  30. การรักษาผู้ป่วยฆ่าตัวตายการรักษาผู้ป่วยฆ่าตัวตาย • Stabilization of medical conditions. • Protection from self-harm • Complete evaluation before disposition • Potential means for self-harm must be removed

  31. การรักษาผู้ป่วยฆ่าตัวตายการรักษาผู้ป่วยฆ่าตัวตาย Protection from self-harm • Appropriate supervision and restraint must be provided. • Frequent supervision • Constant one-to-one supervision • Physical restraint อาจจำเป็น • ให้ยาเมื่อผู้ป่วยคุมตัวเองไม่ได้

  32. การรักษาผู้ป่วยฆ่าตัวตายการรักษาผู้ป่วยฆ่าตัวตาย • ประเมินสภาพจิตเป็นระยะ • เริ่มให้การรักษา • การบำบัดด้วยยา • Crisis intervention

  33. การรักษาผู้ป่วยฆ่าตัวตายการรักษาผู้ป่วยฆ่าตัวตาย • Choice of disposition : หลังประเมิน suicidal risk , ให้การรักษาภาวะทางจิตและทางกายเบื้องต้นแล้ว • ให้กลับบ้านและส่งปรึกษาจิตแพทย์แบบผู้ป่วยนอก • Admission to a medical floor with psychiatric consultation • Voluntary admission to a psychiatric unit • Involuntary commitment to a psychiatric unit

  34. แบบไหนจึงจะรักษาแบบผู้ป่วยนอกได้แบบไหนจึงจะรักษาแบบผู้ป่วยนอกได้ • คุมตัวเองได้ดี • ไม่มีอาการทางจิตหรืออยู่ในภาวะมึนเมาสาร • ไม่ได้วางแผนชัดเจนหรือไม่สามารถใช้วิธีที่กระทำได้ง่าย

  35. แบบไหนจึงจะรักษาแบบผู้ป่วยนอกได้แบบไหนจึงจะรักษาแบบผู้ป่วยนอกได้ • มี social supports • สามารถสร้างความสัมพันธ์กับผู้รักษาได้

  36. จะต้องรับการรักษาในโรงพยาบาลเมื่อใดจะต้องรับการรักษาในโรงพยาบาลเมื่อใด • Poor social network • มีประวัติหุนหันพลันแล่น • เพิ่งมีการสูญเสีย • Active substance abuse • ควบคุมอารมณ์ไม่ค่อยได้ • รู้สึกหมดหวังอย่างสิ้นเชิง,ชีวิตไม่เหลืออะไรอีกแล้ว

  37. ความเสี่ยงของการฆ่าตัวตายซ้ำความเสี่ยงของการฆ่าตัวตายซ้ำ • 40% ของ attempter ได้เคย attempt มาก่อน • F/U 13-35% ของ attempter จะกระทำซ้ำในช่วงเวลา 2 ปีถัดมา

  38. ความเสี่ยงของการฆ่าตัวตายซ้ำความเสี่ยงของการฆ่าตัวตายซ้ำ • ปัจจัยที่มีส่วนทำให้ attempter จะกระทำซ้ำอีกคือ • การใช้ alcohol, • sociopathy, • เคยรับการรักษาในโรงพยาบาลด้วยปัญหาทางจิตเวช, • เคยรับการรักษาทางจิตเวช, • เคย attempt มาก่อน และได้รับการรักษาในโรงพยาบาล • อาศัยอยู่คนเดียว

  39. Prevention • primary prevention และ secondary prevention • primary prevention คือการป้องกันคนที่ยังไม่ attempt • การศึกษาพบว่า บริการของSamaritan ในอังกฤษนั้น มี attempter ใช้บริการเพียง 2% ในช่วงเวลาก่อนที่จะ attempt

  40. Prevention • กลุ่มที่ attempt suicide ก็เป็นประชากรคนละกลุ่มกับกลุ่มที่ใช้บริการจาก Samaritan • ส่วนใหญ่ของ attempter ก็ทราบว่ามี emergency service เหล่านี้อยู่ และมักจะใช้บริการในช่วงเวลาเป็นวันหรือสัปดาห์ก่อนหน้าที่จะ attempt

  41. Prevention • attempt suicide เป็นพฤติกรรมแบบimpulsive มากกว่าการวางแผนไว้ล่วงหน้า ดังนั้น • การป้องกันที่อาจจะทำได้คือ ก. education บุคคลากรทางการแพทย์ ข. ควบคุม ยาและสารที่เป็นอันตราย ที่มักจะใช้ suicide

  42. Prevention ค. เปลี่ยนทัศนคติของคนทั่วไปเกี่ยวกับการขอความช่วยทางจิตเวช ง. ปรับปรุงคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น จ. วิธีการอื่นๆ เช่น การสอน coping skill

  43. Prevention • secondary prevention คือการป้องกันการ re-attempt ซึ่งจากการศึกษาพบว่ายังไม่มีวิธีการแบบใดที่จะสามารถ ลด suicide rate ลงได้

  44. Suicide prevention: a study of patients’ views. Helpful Factors • Psychiatric services • Social networks • Religious beliefs and activites

  45. Suicide prevention: a study of patients’ views. Unhelpful factors • Stigmatisation of people with mental illness is common • Employment was not protective against suicidal ideation

  46. Suicide prevention: a study of patients’ views • Efforts to improve contact with psychiatric services are more likely to be helpful than changes to those services • Patients’ social and religious support networks are highly valued and should be fostered. • Efforts to decrease the stigma attached to mental illnesses should continue.

More Related