1 / 78

มีนาคม 2549

การบริหารความเสี่ยง. มีนาคม 2549. มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร. ตัวชี้วัดเลือกเพิ่มเติม. มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร. ประเด็นการประเมินผล : การบริหารความเสี่ยง. มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร. ระดับคะแนน 5. ระดับคะแนน 4. ระดับคะแนน 3. ระดับคะแนน 2. ระดับคะแนน 1.

porter
Download Presentation

มีนาคม 2549

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารความเสี่ยง มีนาคม 2549

  2. มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดเลือกเพิ่มเติม

  3. มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารความเสี่ยง

  4. มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ระดับคะแนน 5 ระดับคะแนน 4 ระดับคะแนน 3 ระดับคะแนน 2 ระดับคะแนน 1 ประเด็นการประเมินผล : การบริหารความเสี่ยง

  5. มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารความเสี่ยง มีคณะกรรมการหรือคณะทำงานบริหารความเสี่ยงของการบรรลุเป้าหมาย ตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2548 - 2551) ของส่วนราชการ โดยมีผู้บริหารระดับสูงและตัวแทนจากทุกหน่วยงานในสังกัดร่วมเป็นคณะกรรมการ หรือคณะทำงาน โดยผู้บริหารระดับสูงต้องมีบทบาทสำคัญ ในการกำหนดนโยบายหรือแนวทางในการบริหารความเสี่ยง ระดับคะแนน 1

  6. มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารความเสี่ยง วิเคราะห์และระบุปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบหรือสร้างความเสียหาย (ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน) หรือความล้มเหลว หรือลดโอกาสที่จะบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2548 - 2551) ของส่วนราชการ จัดลำดับความสำคัญของปัจจัยเสี่ยง ระดับคะแนน 2

  7. มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารความเสี่ยง จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงเพื่อการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ของส่วนราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2549 ได้แล้วเสร็จ และจัดส่งมายังสำนักงาน ก.พ.ร. ภายในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2549 โดยในแผนฯ ดังกล่าว ต้องมีการกำหนดมาตรการหรือแผนปฏิบัติการในการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ให้กับบุคลากรทุกระดับของส่วนราชการในด้านการบริหารความเสี่ยงและการดำเนินการแก้ไข ลด หรือป้องกันความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ระดับคะแนน 3

  8. มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารความเสี่ยง ดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงของการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2548 - 2551) ของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 ได้แล้วเสร็จครบถ้วน ระดับคะแนน 4

  9. มิติที่ 4 : มิติด้านการพัฒนาองค์กร ประเด็นการประเมินผล : การบริหารความเสี่ยง มีการสรุปผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงเพื่อการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2548 - 2551) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 และมีการกำหนดแนวทาง/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแผนบริหารความเสี่ยงฯ ของส่วนราชการ สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 และได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ ระดับคะแนน 5

  10. การบริหารความเสี่ยง Risk Management การบริหารความเสี่ยง

  11. การบริหารความเสี่ยง * การเปลี่ยนแปลงก่อให้เกิดความเสี่ยง * การเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่งแน่นอน * ความเสี่ยงเป็นความจริงที่เลี่ยงไม่ได้ - ในโลกธุรกิจ/การทำงาน - ในชีวิตจริง * ความเสี่ยงเป็นทั้งโอกาส และอุปสรรค - ได้รับความสำเร็จ หรือ - สร้างปัญหา/ความล้มเหลว - ขึ้นกับความเข้าใจในการจัดการ/บริหาร

  12. ขั้นตอนความเข้าใจและการบริหารความเสี่ยง ภายใต้การกำกับดูแลกิจการที่ดี Sophisticated- Sophisticated tools and techniques - Risk based rewards Sustainable Risk Management Practices - Strategic focus - embedded into processes RISK MANAGEMENT MATURITY Risk Assessments - Risk identification - Risk mitigation strategies ปัจจุบันองค์กรของท่านอยู่ในระดับใดของการจัดการ ? Awareness - Non-integrated risk practices - Policy statement

  13. ระบบงาน กับ ความเข้าใจเพื่อ การบริหารความเสี่ยง ระบบหมายถึง : … ส่วนประกอบต่างๆ ที่ผสมผสาน ของ แนวความคิดเชิงกลยุทธ์ TOTAL SYSTEM APPROACH โครงสร้างของระบบงานต่างๆ ในองค์กร บุคลากร + ขั้นตอน IT + Manual + ผสมผสาน Input-Process-Output เพื่อ บรรลุวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่งร่วมกัน

  14. นิยามความเสี่ยง ความเสี่ยงโดยทั่วไปหมายถึง เหตุการณ์ที่มีโอกาสเกิดขึ้นในอนาคต และอาจมีผลในด้านลบที่ไม่ต้องการ การตัดสินใจใดๆโดยไม่มีข้อมูล หรือการวางแผนจึงเป็นการตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง ความเสี่ยงในแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี คือ เหตุการณ์ใดๆ ที่อาจเกิดภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน และส่งผลกระทบหรือสร้างความเสียหาย(ที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน) หรือความล้มเหลว หรือลดโอกาสที่จะบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี

  15. ความเสี่ยงต่างๆ ของธุรกิจโดยทั่วไป : THE BUSINESS RISK SPECTRUM ความเสี่ยงจากลักษณะธุรกิจ (Inherent Risk) ความเสี่ยงจากระบบควบคุม (Control/Manage Risk) ความเสี่ยงจากวิธีการตรวจสอบ (Detection Risk)

  16. ประเภทของความเสี่ยง ความเสี่ยงภายใน (ความเสี่ยงที่ควบคุมได้โดยองค์กร) - ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ - ความเสี่ยงด้านการเงิน และงบประมาณ - ความเสี่ยงด้านการจัดซื้อจัดจ้าง และบริหารสัญญา - ความเสี่ยงด้านบำรุงรักษา และบริหารจัดการระบบ - ความเสี่ยงด้านการบริหารงานบุคคล - ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน • ความเสี่ยงภายนอก • (ความเสี่ยงที่ไม่สามารถ • ควบคุมได้โดยองค์กรเอง) • เศรษฐกิจ/สังคม/การเมือง/ • กฏหมาย • - ภัยธรรมชาติ/สิ่งแวดล้อม • - สงคราม/การก่อการร้าย

  17. นิยามระบบบริหารความเสี่ยงนิยามระบบบริหารความเสี่ยง ระบบบริหารความเสี่ยง หมายถึง ระบบการบริหารปัจจัยและควบคุมกิจกรรม รวมทั้งกระบวนการดำเนินงานต่างๆ โดยลดมูลเหตุแต่ละโอกาสที่จะทำให้เกิดความเสียหายเพื่อให้ระดับของความเสี่ยงและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอยู่ในระดับที่สามารถรับได้ ประเมินได้ ควบคุมได้ และตรวจสอบได้อย่างมีระบบ โดยคำนึงถึงการบรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2548-2551) ของหน่วยงานราชการเป็นสำคัญ

  18. วัตถุประสงค์ในการบริหารความเสี่ยงวัตถุประสงค์ในการบริหารความเสี่ยง ก่อนการสูญเสีย - เป็นการเตรียมการขององค์กรเพื่อวางแผนป้องกันความสูญเสีย - ลดความกังวลของพนักงานและผู้บริหารที่อาจมีผลให้ประสิทธิภาพในการทำงานลดลง หลังการสูญเสีย - เป็นการวางแผนเพื่อรองรับเหตุการณ์เมื่อเกิดความสูญเสียขึ้น

  19. แนวทางการบริหารความเสี่ยงแนวทางการบริหารความเสี่ยง 1. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการรับผิดชอบการบริหารความเสี่ยง 2.1 จัดหาทีมงาน 2.2 ให้แนวทางในการทำงาน 2.3 สนับสนุน 3. ทีมงานพิจารณาและประชุมสรุปงานที่อยู่ในความรับผิดชอบ 4. ทีมงานดำเนินงานตามวงจรบริหารความเสี่ยง 5. รายงานข้อมูล และสรุปผลการใช้กระบวนการบริหารความเสี่ยง

  20. 1 2 4 3 วงจรบริหารความเสี่ยง ระบุความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง ติดตามและทบทวน จัดการความเสี่ยง

  21. ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยง

  22. วิเคราะห์ขั้นตอนของแผนวิเคราะห์ขั้นตอนของแผน ระบุความเสี่ยง การระบุความเสี่ยง (Risk Identification) ระบุสาเหตุของความเสี่ยง

  23. การระบุความเสี่ยง (Risk Identification) • ศึกษา และทบทวนเอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้อง • ระดมความคิดจากผู้บริหารและบุคคลที่เกี่ยวข้อง • สัมภาษณ์ผู้ที่มีผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ปฏิบัติงานในแต่ละแผนงาน • ศึกษาข้อมูลหรือผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการในอดีต

  24. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) • โอกาสที่จะเกิดความเสียหาย คือการพิจารณาว่าปัจจัยเสี่ยงมีโอกาสที่จะเกิดในระดับมากน้อยเพียงใด • ความเสียหายที่จะกระทบต่อองค์กร หรือ แผนปฏิบัติราชการ คือการนำปัจจัยเสี่ยงแต่ละปัจจัยมาพิจารณาว่าหากเกิดขึ้นแล้วมีผลกระทบต่อหน่วยงานมากน้อยแค่ไหน • ความสำคัญของความเสี่ยงที่องค์กรเผชิญอยู่ คือการลำดับความสำคัญของแต่ละปัจจัยเสี่ยงเพื่อพิจารณาว่าความเสี่ยงใดควรพิจารณาจัดการก่อนหลัง

  25. ตัวอย่าง โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ที่เป็นความเสี่ยง

  26. ตัวอย่าง โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ที่เป็นความเสี่ยง

  27. ตัวอย่าง ผลกระทบต่อองค์กร (ด้านการเงิน)

  28. ตัวอย่าง ผลกระทบต่อองค์กร (ด้านเวลา)

  29. ตัวอย่าง ผลกระทบต่อองค์กร (ด้านชื่อเสียง)

  30. การจัดลำดับความเสี่ยงการจัดลำดับความเสี่ยง • รวมคะแนนระหว่างโอกาสที่จะเกิดกับความเสียหายเพื่อจัดลำดับความสำคัญ และใช้ในการตัดสินใจว่าความเสี่ยงใดควรเร่งจัดการก่อน • จัดทำแผนภูมิความเสี่ยงเพื่อให้ผู้บริหารและคนในองค์กรได้เห็นภาพรวมว่าความเสี่ยงมีการกระจายตัวอย่างไร

  31. มาก ผลกระทบ น้อย น้อย มาก โอกาสที่จะเกิด แผนภูมิความเสี่ยง (Risk Map)

  32. แผนภูมิความเสี่ยง (Risk Map) 5 4 สูง มาก ผล กระ ทบ 3 สูง 2 ปาน กลาง 1 ต่ำ 1 2 3 4 5 โอกาสที่จะเกิด

  33. การติดตามและทบทวนความเสี่ยงการติดตามและทบทวนความเสี่ยง ความเสี่ยง ก่อนจัดการ ความเสี่ยง ที่ถูกจัดการ ความเสี่ยง ที่ถูกจัดการ ความเสี่ยง ที่เหลือ การจัดการ หลังทบทวน ระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ จัดการความเสี่ยง ติดตามทบทวน

  34. Risk Management Strategies • Risk Avoidance • Risk Elimination • Risk Minimization • Risk Transfer • Risk Acceptance • Contingency Planning

  35. ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาตร์ การบริหารความเสี่ยง วิสัยทัศน์ / พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ ความเสี่ยงที่กำหนดยุทธศาสตร์ผิดพลาด เป้าประสงค์ ประเมินโอกาสที่จะเกิด และระดับความรุนแรง ของความเสี่ยง ความเสี่ยงที่การดำเนินงานจะไม่บรรลุ เป้าประสงค์ แนวทางในการตอบ สนองต่อความเสี่ยง ตัวชี้วัด โครงการ ความเสี่ยงที่โครงการจะไม่ประสบผลสำเร็จ

  36. การบริหารความเสี่ยงแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี • เป็นการบริหารความเสี่ยง โครงการ/กิจกรรม ที่ปรากฏในแผน • เน้นการบริหารความเสี่ยง โครงการ/กิจกรรม ในปีงบประมาณ 2549 ที่ได้รับงบประมาณ • เนื่องจากมี โครงการ/กิจกรรม จำนวนมาก อาจกำหนดหลักเกณฑ์กลั่นกรอง โครงการ/กิจกรรม ที่มีความสำคัญสูง และ/หรือ ใช้งบประมาณจำนวนมาก และ/หรือ เชื่อมโยงกับระดับความสำเร็จตามเป้าหมายของตัวชี้วัดสูง • ในรายงานสรุปผลการดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยง ควรให้มีความเชื่อมโยงกับการบรรลุในเป้าประสงค์ และประเด็นยุทธศาสตร์ด้วย

  37. ตัวอย่าง ประเด็นยุทธศาสตร์ • ประเด็นยุทธศาสตร์ 2 ประการคือ • การเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน • การพัฒนาเพื่ออนาคต

  38. ตัวอย่าง วัตถุประสงค์          พัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตให้ครบวงจร และสามารถแข่งขันเข้าสู่ระดับสากล โดยเริ่มตั้งแต่ระบบการผลิตการประกันคุณภาพ วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ การบริหารการเงินและการตลาด เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันตลาดโลกแนวทางดำเนินการโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตเพื่อยกระดับความสามารถการแข่งขัน มีเป้าหมายหลักคือพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตไทยให้เข้าสู่การค้าสากล โดยอาศัยกระบวนการปรับโครงสร้างการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมทั้งระบบ และกำหนดแผนงานหลักไว้ 5 แผนงานได้แก่     1. แผนงานการพัฒนาและปรับปรุงส่วนการผลิตให้ทันสมัย     2. แผนงานยกระดับมาตรฐานกิจการและผลิตภัณฑ์ให้เป็นระบบสากล (ISO, QS หรืออื่นๆ)     3. แผนงานเพิ่มความสามารถทางการวางแผนและจัดการเทคโนโลยี     4. แผนงานเสริมสร้างความสามารถทางการบริหารการเงินและการลงทุน     5. แผนงานเพิ่มสมรรถนะการจัดการเชิงกลยุทธ์และการตลาดในและต่างประเทศในแต่ละแผนงานนั้นได้มีการจัดเตรียมผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านจากหน่วยงานภายนอกเพื่อเป็นที่ปรึกษาตลอดกระบวนการปรับปรุงโครงสร้างของธุรกิจตั้งแต่การฝึกอบรมให้ความรู้ต่างๆ การวิเคราะห์สภาพการดำเนินงานของธุรกิจในปัจจุบัน ให้คำปรึกษาแนะนำและร่วมกันกำหนดแผนกลยุทธ์ในการพัฒนาธุรกิจให้มีศักยภาพในการแข่งขันมากขึ้น ติดตามควบคุมการปฏิบัติตามแผนงานและให้ความช่วยเหลือเมื่อพบอุปสรรคในการดำเนินการ รวมทั้งประเมินและสรุปผลการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงการเพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาธุรกิจต่อไปในระยะยาว รวมระยะเวลาโครงการประมาณ 1 ปี

  39. ตัวอย่าง ขั้นตอนการดำเนินการ 1. ประชาสัมพันธ์ และจัดสัมมนาแนะนำโครงการ 2. รับสมัครและคัดเลือกกิจการที่มีความพร้อมเข้าร่วมโครงการโดยการสัมภาษณ์ เยี่ยมชม และวิเคราะห์ข้อมูลของกิจการ 3. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์/สัมมนาผู้บริหารกิจการที่ได้รับเลือกเข้าร่วมโครงการเพื่อปรับฐานความเข้าใจ และสร้างพันธมิตรระหว่างกัน 4. ที่ปรึกษาวิเคราะห์สภาพการดำเนินธุรกิจในปัจจุบัน เพื่อศึกษาสภาพปัญหา จุดแข็ง จุดอ่อน ความต้องการของกิจการ และร่วมกันกำหนดแผนกลยุทธ์ในการพัฒนาต่อไป 5. จัดฝึกอบรมเพื่อต่อยอดความรู้ให้แก่พนักงานและผู้บริหาร 6. ให้คำปรึกษาแนะนำแนวทางปฏิบัติในการพัฒนาทั้ง 5 แผนงาน 7. วิเคราะห์ประเมินผลในการปฏิบัติงาน 8. ประเมินและสรุปผลที่ได้จากโครงการเพื่อกำหนดแนวทางในการพัฒนาของกิจการในอนาคต

  40. ตัวอย่างตารางระบุความเสี่ยง (เอกสารแนบ ตารางที่ 1)

  41. ตัวอย่าง

  42. ตัวอย่าง

  43. การประเมินความเสี่ยง • การประเมินความถี่/โอกาสที่จะเกิด โดยทั่วไปอาจใช้สถิติและข้อมูลในอดีต แต่ควรใช้การวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงขององค์กรโดยรวมร่วมด้วย รวมทั้งการวิเคราะห์ภายใต้สถานการณ์ที่เป็นไปได้ทั้งหมด (scenario analysis) เพื่อให้สมเหตุสมผลยิ่งขึ้น • การประเมินความรุนแรง นอกจากพิจารณาความเสียหายที่จะเกิดขึ้นต่อองค์กรแล้ว ควรให้ความสำคัญแก่ผลกระทบต่อองค์กรอื่นๆ ชุมชน หรือผู้อื่นที่ได้รับผลกระทบด้วย

  44. ตัวอย่างตารางประเมินความเสี่ยง (เอกสารแนบ ตารางที่ 2)

  45. ตัวอย่าง

  46. ตัวอย่าง

  47. 1.3

  48. การจัดการความเสี่ยง ทำการวิเคราะห์ถึงต้นทุนและประโยชน์ที่จะได้รับภายใต้ทางเลือกระหว่าง การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง การถ่ายโอนความเสี่ยง การยอมรับความเสี่ยง และการควบคุมความเสี่ยง ตัวอย่างตารางสรุปทางเลือกที่เหมาะสมในการจัดการความเสี่ยง (เอกสารแนบ ตารางที่ 3)

  49. ตัวอย่าง

More Related