1 / 28

บทที่ 8 ไดอะแกรมแสดงสถานะ PHASE DIAGRAMS

บทที่ 8 ไดอะแกรมแสดงสถานะ PHASE DIAGRAMS. เนื้อหา. ชนิดของสารละลายของแข็ง ค่าจำกัดของการละลาย ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิ ปริมาณส่วนประกอบและสถานะ เฟสไดอะแกรมแบบต่างๆ และลักษณะจุลโครงสร้างที่เกิดขึ้น เฟสไดอะแกรมของเหล็ก-คาร์บอน. 1. ชนิดของสารละลายและลักษณะทางสถานะที่เกิดขึ้น. 2.

velvet
Download Presentation

บทที่ 8 ไดอะแกรมแสดงสถานะ PHASE DIAGRAMS

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 8ไดอะแกรมแสดงสถานะPHASE DIAGRAMS เนื้อหา • ชนิดของสารละลายของแข็ง • ค่าจำกัดของการละลาย • ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิ ปริมาณส่วนประกอบและสถานะ • เฟสไดอะแกรมแบบต่างๆ และลักษณะจุลโครงสร้างที่เกิดขึ้น • เฟสไดอะแกรมของเหล็ก-คาร์บอน 1

  2. ชนิดของสารละลายและลักษณะทางสถานะที่เกิดขึ้นชนิดของสารละลายและลักษณะทางสถานะที่เกิดขึ้น 2

  3. ค่าจำกัดของการละลาย(SOLUBILITY LIMIT) •Solubility Limit: ค่าความเข้มข้นสูงสุดสำหรับการ เกิดสารละลาย ตัวอย่าง : ความเข้มข้นสูงสุดของน้ำตาลในสารละลายน้ำและน้ำตาลที่ 20c เท่ากับ 65wt% sugar Co < 65wt% sugar: sugar Co > 65wt% sugar: syrup + sugar. ค่าจำกัดในการละลาย เพิ่มขึ้น เมื่ออุณหภูมิ เพิ่มขึ้น 3

  4. ส่วนประกอบและสถานะ(COMPONENTS AND PHASES) ส่วนประกอบ คือ ธาตุ หรือสารประกอบเริ่มต้นของสารละลาย เช่น Alและ Cu สถานะ คือ ลักษณะทางกายภาพและทางเคมีของสารที่มีละกษณะเป็นเนื้อเดียวกัน เช่น เฟส และ  เฟส Aluminum- Copper Alloy 4

  5. ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิปริมาณส่วนประกอบและสถานะความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิปริมาณส่วนประกอบและสถานะ • การเปลี่ยนแปลง T ทำให้จำนวนเฟสเกิดการเปลี่ยนแปลง : A ไปยัง B • การเปลี่ยนแปลง C0ทำให้จำนวนเฟสเกิดการเปลี่ยนแปลง : B ไปยัง D water-sugar system 5

  6. PHASE DIAGRAMS กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง T, C0และ P (Phase) Phase DiagramสำหรับระบบCu-Ni 6

  7. จำนวนและชนิดของเฟส • ถ้ารู้ อุณหภูมิ และ ความเข้มข้นของส่วนประกอบ ดังนั้นจะทราบ จำนวนและชนิดของเฟสที่เกิดขึ้น ตัวอย่าง A : ที่อุณหภูมิ 1100c, 60wt% Ni จะมี 1 เฟส คือ ของแข็ง  B : ที่อุณหภูมิ 1250c, 35wt% Ni จะมี 2 เฟส คือ ของเหลว และของแข็ง  7

  8. LEVER RULE • ผลรวมของอัตราส่วนโดยน้ำหนัก • การอนุรักษ์มวลของ Ni • ดังนั้นจากสมการทั้งสอง 8

  9. การหาอัตราส่วนโดยน้ำหนักในแต่ละเฟสการหาอัตราส่วนโดยน้ำหนักในแต่ละเฟส • ถ้ารู้ อุณหภูมิ และ ความเข้มข้นของส่วนประกอบ ดังนั้นจะทราบ ปริมาณของสารในแต่ละเฟส (wt%) = 27wt% 9

  10. การหาปริมาณส่วนประกอบในแต่ละเฟสการหาปริมาณส่วนประกอบในแต่ละเฟส • ถ้ารู้ อุณหภูมิ และ ความเข้มข้นของส่วนประกอบ ดังนั้นจะทราบ ปริมาณของส่วนประกอบในแต่ละเฟส 10

  11. การเย็นตัวของสารละลายCu-Niการเย็นตัวของสารละลายCu-Ni • •binary • 2 components: • Cu and Ni. • isomorphous • ละลายด้วยกันอย่างสมบูรณ์ทั้งในสถานะของเหลวและของแข็งa Co = 35wt%Ni. 11

  12. คุณสมบัติทางกล:Cu-Ni System ค่า TS และความเหนียวของสารละลายของแข็งทองแดงและนิเกิลขึ้นกับอัตราส่วนความเข้มข้นของสาร Tensile strength (TS) Ductility (%EL,%AR) --Peak as a function of Co --Min. as a function of Co 12

  13. BINARY-EUTECTIC SYSTEMS EUTECTIC = ค่าอัตราส่วนเฉพาะ ที่จุดหลอมเหลวต่ำสุด • ตัวอย่าง : สารละลาย Cu-Ag • มีเฟสที่เกิดขึ้น 3 ชนิด คือ ของเหลว Lของแข็ง  และของแข็ง  •  ประกอบด้วย Cuเป็นส่วนใหญ่ •  ประกอบด้วย Agเป็นส่วนใหญ่ อุณหภูมิยูเทคติค (TE) - ไม่มีเฟสของเหลวที่อุณหภูมิต่ำกว่า TE ความเข้มข้นยูเทคติค (CE) - อัตราส่วนของสารละลายที่ให้ค่าจุดหลอมเหลวต่ำสุด 13

  14. Pb-Sn EUTECTIC SYSTEM (1) • อัลลอยย์ 40wt%Sn-60wt%Pbที่ 150c จงหา • เฟสที่เกิดขึ้นที่อุณหภูมินี้ → + • ปริมาณ (%) – ของแต่ละเฟส • ความเข้มข้นของ Sn ในแต่ละเฟส • C= 11wt%Sn , 89wt%Pb • C= 99wt%Sn , 1wt%Pb 14

  15. จุลโครงสร้าง(Microstructure)ในระบบEutectic I ภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงจุลโครงสร้าง เนื่องจากการลดอุณหภูมิของสารละลาย Sn-Pbจากเฟสของเหลว มายังเฟสของแข็ง ที่ 2wt%Sn ผลที่ได้คือ โครงสร้างหลายผลึกแบบ  (polycrystal of a grains) 15

  16. จุลโครงสร้าง(Microstructure)ในระบบEutectic II ภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงจุลโครงสร้าง เนื่องจากการลดอุณหภูมิของสารละลาย Sn-Pbจากเฟสของเหลว มายังเฟสของแข็ง ที่ 2wt%Sn<C0<18.3 wt%Sn ผลที่ได้คือ โครงสร้างหลายผลึกแบบ  (polycrystal of a grains) และตะกอนของ  16

  17. จุลโครงสร้าง(Microstructure)ในระบบEutectic III จุลครงสร้างแบบยูเทคติค– เกิดชั้นผลึกแบบ  สลับกับชั้นผลึกแบบ  ของสารละลายความเข้มข้นเท่ากับ cEและอุณหภูมิต่ำกว่า TE 17

  18. จุลโครงสร้าง(Microstructure)ในระบบEutectic VI • เกิดผลึก  และผลึกแบบ ยูเทคติค 18

  19. HYPOEUTECTIC และHYPEREUTECTIC Hypoecutecticมีความเข้มข้นต่ำกว่า cEHypereutecticมีความเข้มข้นสูงกว่า cE 19

  20. สารละลายของแข็งแบบIntermediate 20

  21. สารประกอบแบบIntermediateหรือ สารประกอบแบบintermetallic • ระบบของ โลหะ-โลหะ • ประกอบด้วย ยูเทคติคไดอะแกรม 2 ไดอะแกรม • - Mg - MgPb2 • - Mg2Pb - Pb 21

  22. ปฏิกิริยาEutectoidและปฏิกิริยาPeritecticปฏิกิริยาEutectoidและปฏิกิริยาPeritectic • EUTECTOID = ของแข็ง  เปลี่ยนรูปเป็น  และ  (ที่จุดE) • EUTECTIC = ของเหลว L เปลี่ยนรูปเป็นของแข็ง และ  • PERITECTIC = ของเหลว L และของแข็ง  เปลี่ยนรูปเป็นของแข็ง  (ที่จุดP) 22

  23. ไดอะแกรมของระบบ เหล็ก - คาร์บอน 23

  24. เหล็ก - เหล็กคาร์ไบด์(Fe-Fe3C) 24

  25. room temp ferrite,  iron BCC 0.022%Cmax soft,magnetic • 912 - 1394C austenite,  iron FCC 2.14%Cmax non-magnetic • 1395 - 1538C delta ferrite,  iron BCC Cementite max. %C => 6.7% = 100% Fe3C very hard, brittle not an equilibrium compound, can transform to  iron and graphite, addition silicon to cast iron accelerates cementite to graphite Steel => 0.008 – 2.14 wt%C Cast iron => 2.14 – 6.7 wt%C 25

  26. เหล็กกล้า HYPOEUTECTOID Pearlite (eutectoid ferrite) + proeutectoid ferrite From 0.022 – 0.76 wt%C 26

  27. Fraction of pearlite and proeutectoid  - T to U Fraction of  and cementite - T to X 27

  28. เหล็กกล้าHYPEREUTECTOID Pearlite (eutectoid cementite) + proeutectoid cememtite From 0.76 – 2.14 wt%C 28

More Related