290 likes | 352 Views
พัฒนาการของมนุษย์ (Human Development ). พัฒนาการ( Development) หมายถึง ลักษณะของการเปลี่ยนแปลงที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมีระเบียบแบบแผน งานพัฒนาการต่างๆจะเป็นกระบวนการเฉพาะอย่าง ซึ่งจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงในหลายๆแง่ เช่น ทางด้านสรีระทางโครงสร้างของรูปร่างและอื่น ๆ.
E N D
พัฒนาการของมนุษย์(Human Development)
พัฒนาการ(Development)หมายถึง ลักษณะของการเปลี่ยนแปลงที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมีระเบียบแบบแผน งานพัฒนาการต่างๆจะเป็นกระบวนการเฉพาะอย่าง ซึ่งจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงในหลายๆแง่ เช่น ทางด้านสรีระทางโครงสร้างของรูปร่างและอื่นๆ
จุดมุ่งหมายของการศึกษาพัฒนาการของมนุษย์จุดมุ่งหมายของการศึกษาพัฒนาการของมนุษย์ • เพื่อให้เกิดแรงจูงใจในการที่จะเข้าใจลักษณะของพัฒนาการใน ระยะเวลาต่างๆว่าเป็นอย่างไร และจะมีส่วนช่วยในการแก้ไขและ เข้าใจปัญหาที่เกิดขึ้น ตามความเหมาะสมของแต่ละอายุ 2. เพื่อให้สามารปรับตัวให้เข้ากับความยากลำบากของการพัฒนาการ ในแต่ละช่วงอายุว่ามีความแตกต่างกันได้เป็นอย่างดี
ลักษณะพัฒนาการของมนุษย์ลักษณะพัฒนาการของมนุษย์ 1. พัฒนาการที่เป็นทิศทาง(Developmental direction) • Cephalocaudal • Proximodistal 2. พัฒนาการของมนุษย์ในลักษณะต่อเนื่อง (Continuity) 3. พัฒนาการของมนุษย์จะเกิดขึ้นตามลำดับขั้น (Sequence)
4. พัฒนาการของมนุษย์จะไม่เป็นอัตราเดียวกันในบุคคลเดียวกัน (Different growth rate) 5. พัฒนาการของมนุษย์ทั่วไปจะมีอัตราที่ไม่ เท่ากัน (Different Ratio) 6. พัฒนาการของมนุษย์ในส่วนต่างๆของร่างกายจะมีการพัฒนาไม่พร้อมกัน (Dirrerent parts)
วุฒิภาวะ วุฒิภาวะ (Maturation) หมายถึง รูปแบบพฤติกรรมในเชิงชีววิทยาที่มีความสัมพันธ์กับอายุ โดยการเปลี่ยนแปลงในแบบพฤติกรรมเหล่านี้จะได้รับการตั้งโปรมแกรม โดยยีนส์ ซึ่งได้รวมถึงควาสามารถทางกายและความสามารถทางด้าน ความคิด
การเรียนรู้ การเรียนรู้ (Learning) หมายถึง รูปแบบการแปลงพฤติกรรมที่เป็นผลมาจากการฝึกฝน และการฝึกหัด การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อมีวุฒิภาวะเป็นพื้นฐาน โดยเด็กที่มีวุฒิภาวะแล้วจะได้รับการเรียนรู้
ความสัมพันธ์ระหว่างวุฒิภาวะและการเรียนรู้ที่มีผลต่อพัฒนาการของบุคคลความสัมพันธ์ระหว่างวุฒิภาวะและการเรียนรู้ที่มีผลต่อพัฒนาการของบุคคล 1 พัฒนาการของบุคคล เป็นผลร่วมกันระหว่างวุฒิภาวะและการเรียนรู้ 2 วุฒิภาวะเป็นตัวกำหนดขอบเขตของการพัฒนาในตัวบุคคล การที่วุฒิภาวะมีขอบเขตจำกัด ทำให้การเรียนรู้ที่ดีที่สุดอาจจะไม่ได้ผลถ้าเกินขอบเขตของวุฒิภาวะที่บุคคลมี 3 เมื่อยังไม่ถึงวุฒิภาวะ การให้การฝึกฝนใด ๆ ก็จะไม่มีประโยชน์อันใดเลย ต่อการพัฒนาการ 4พัฒนาการในช่วงต้นชีวิต อาศัยวุฒิภาวะเป็นสำคัญ แต่พัฒนาการในวัยต่อมาและในระยะยาวของชีวิต จะต้องอาศัยการเรียนรู้มากกว่าวุฒิภาวะ
การเริ่มต้นพัฒนาการทางการเคลื่อนไหว ความรู้สึก การรับรู้ พัฒนาการทางภาษาและพัฒนาการทางสังคม 1 พัฒนาการทางด้านการเคลื่อนไหว (Motor development) ความสามารถทางด้านการเคลื่อนไหว (Motor abilities) ปฏิกิริยาสะท้อน (Reflexes) 2 พัฒนาการทางด้านความรู้สึก (Sensory development) 3 พัฒนาการทางด้านการรับรู้ (Perceptual development) 4 พัฒนาการทางภาษา (Language development) 5 พัฒนาการทางสังคม (Social development)
พัฒนาการในวัยต่าง ๆ วัยทารก จะมีช่วงเวลาตั้งแต่แรกเกิด - 2 ปี วัยทารกยังเป็นวัยที่ยังช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ต้องอาศัยความช่วยเหลือจากบุคคลอื่น วัยนี้มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว และเห็นพัฒนาการทางด้านร่างกายอย่างชัดเจน สิ่งที่สำคัญ คือการพัฒนากล้ามเนื้อ
วัยเด็ก วัยเด็ก เป็นวัยที่อยู่ในช่วงอายุ 2 - 11 ปี มีการพัฒนากล้ามเนื้อที่ใช้ ในการเล่น มักมีพฤติกรรมเลียนแบบผู้ใหญ่ที่อยู่ใกล้ตัว พัฒนาการ ทางสติปัญญาจะก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในตอนปลายของวัย วัยเด็กจะมีการพัฒนาเอกลักษณ์ของตนเอง (Identification) เด็กจะรับ เอาทัศนคติและพฤติกรรมจากพ่อแม่ พฤติกรรมทางสังคม เด็กจะมีความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นมากขึ้นเนื่องจาก สังคมขยายวงกว้างไป เพื่อนในวัยเด็กจะมีอิทธิพลต่อเด็ก การสร้างมิตรภาพ จะเลือกคบเพื่อนโดยการแบ่งแยกโดยเพศ
วัยรุ่น การเข้าสู่วัยรุ่นของเด็กชายและเด็กหญิงแตกต่างกัน เด็กชายจะมีอายุประมาณ 13 ปี ส่วนเด็กหญิงจะมีอายุประมาณ 11 ปี ทั้งนี้เพราะผู้หญิงโตเร็วกว่าผู้ชาย กว่า 2 ปี และจะสิ้นสุดเมื่ออายุ 18-20 ปี พัฒนาการทางกายมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เด็กผู้หญิงเริ่มมีประจำเดือน เด็กผู้ชายเริ่มฝันเปียก มีลักษณะเป็นวัยหนุ่มวัยสาว พัฒนาการทางสังคมและบุคลิกภาพ เป็นแบบเอกลักษณ์เฉพาะบุคคล มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีสังคมแบบกลุ่มที่เป็นเอกลักษณ์
วัยรุ่น การสร้างมิตรภาพ วัยรุ่นมักชอบเพื่อนที่มีบุคลิกภาพ และความสนใจ เดียวกัน วัยรุ่นชาย - จะพัฒนาความสัมพันธ์โดยการทำกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน วัยรุ่นหญิง - จะพัฒนาความสัมพันธ์โดยการติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกัน วัยรุ่นเป็นวัยหนึ่งเป็นวัยที่มีปัญหา ซึ่งอาจจะพบปัญหาการฆ่าตัวตายใน วัยรุ่นอันเป็นมาจากการซึมเศร้า และความรู้สึกที่ตนเองด้อยค่า และปัญหา เรื่องยาเสพติด และปัญหาสุขภาพจิตอีกด้วย
วัยผู้ใหญ่ วัยผู้ใหญ่แบ่งออกเป็น 3 ช่วงอายุ คือ 1 วัยผู้ใหญ่ตอนต้น อายุ 18-45 ปี 2 วัยกลางคน อายุ 45-65 ปี 3 วัยชรา หรือผู้ใหญ่ตอนปลาย อายุ 65 ปีขึ้นไป
พัฒนาการทางกาย วัยผู้ใหญ่ตอนต้นจัดว่าเป็นระยะที่ดีที่สุดของชีวิต ร่างกายมีการเจริญเติบโตมากที่สุดตอนอายุ 20 ปี มีความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ วัยกลางคนร่างกายจะเริ่มค่อย ๆ เสื่อมลง จากวัยผู้ใหญ่ตอนต้น วัยชรากระบวนการเสื่อมในร่างกายมักปรากฏอย่างรวดเร็ว ร่างกายจะสูญเสียความสามารถที่ปกป้องตนเองจากโรคต่าง ๆ
พัฒนาการทางสังคมและบุคลิกภาพของผู้ใหญ่พัฒนาการทางสังคมและบุคลิกภาพของผู้ใหญ่ วัยผู้ใหญ่เป็นวัยที่ประสบความสำเร็จในงานอาชีพ จะเพิ่มมากขึ้นในระหว่าง 20-40 ปี บุคคลจะมีประสบการณ์ในการจัดการกับสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันและการงานอาชีพสิ่งเหล่านี้จะมีผลต่อบุคลิกภาพของบุคคลในวัยผู้ใหญ่
การแต่งงานและการมีครอบครัวการแต่งงานและการมีครอบครัว ผู้ใหญ่ตอนต้น เป็นวัยที่จัดว่า เป็นช่วงของการสร้างความสนิทสนม กับเพื่อนต่างเพศคนใดคนหนึ่ง ซึ่ง มักจะนำมาสู่การแต่งงาน และต่อมา คือ การมีบุตร ซึ่งเป็นความรับผิดชอบ ของคู่สมรส
การเกษียณอายุ การเกษียณอายุมีอยู่ 6 ระยะด้วยกัน 1 ระยะก่อนการเกษียณอายุ 2 ระยะของการมีความสุข 3 ระยะของการหมดความสุข 4 ระยะการปรับตัวอีกครั้ง 5 ระยะความมั่นคง 6 ระยะสุดท้าย
บุคคลในวัยชรามีลักษณะดังนี้บุคคลในวัยชรามีลักษณะดังนี้ 1 โครงสร้างของร่างกายเปลี่ยนแปลง 2 จุกจิกจู้จี้ ขี้บ่น 3 หลงลืมได้ง่าย 4 ขี้น้อยใจ 5 เจ็บป่วยได้ง่าย
จุดจบของชีวิต (การตาย) 1 การปฏิเสธ 2 ความโกรธ 3 อาการที่บุคคลคาดหวังว่าจะต่อรองได้ 4 ความซึมเศร้า 5 การยอมรับ
ทฤษฎีพัฒนาการ 1ทฤษฎีพัฒนาการทางบุคลิกภาพ ของฟรอยด์ 2ทฤษฎีจิตสังคม ของอิริคสัน 3 ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา ของเพียเจท์ 4ทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรม ของโคห์ลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการทางบุคลิกภาพ ของฟรอยด์ มีการพัฒนาการ 5 ขั้น จากตั้งแต่เกิดจนวัยรุ่น 1 ขั้นปาก 2 ขั้นทวารหนัก 3 ขั้นอวัยวะเพศ 4 ขั้นฟักตัว 5ขั้นวัยรุ่น
ทฤษฎีจิตสังคมของอิริคสันทฤษฎีจิตสังคมของอิริคสัน แบ่งออกได้เป็น8 ขั้นตอน 1 ความไว้วางใจ - ความไม่ไว้วางใจ 2 ความอิสระ - ความสงสัย 3ความคิดริเริ่ม - ความรู้สึกผิด 4ความขยันมั่นเพียร - ความรู้สึกมีปมด้อย 5 เอกลักษณ์ในบทบาท - ความสับสนในบทบาท 6 ความใกล้ชิดสนิทสนม - ความโดดเดี่ยว 7 ความคิดถึงส่วนรวม - การคำนึงถึงแก่ตนเอง 8ความมั่งคงสมบูรณ์ - ความสิ้นหวัง