350 likes | 1.26k Views
การจัดทำผลงานทางวิชาการ. ด้านที่ 2 ด้านความรู้ ความสามารถ. วิทยากร ดร. เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม. ๔๒. หลักเกณฑ์การประเมินด้านที่ 2 ด้านความรู้ ความสามารถ. จะพิจารณาจาก การพัฒนางานในหน้าที่และการพัฒนาตน. ส่วนที่ 1 เป็นผู้มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอน.
E N D
การจัดทำผลงานทางวิชาการ ด้านที่ 2 ด้านความรู้ ความสามารถ วิทยากร ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม.๔๒
หลักเกณฑ์การประเมินด้านที่ 2 ด้านความรู้ ความสามารถ จะพิจารณาจาก การพัฒนางานในหน้าที่และการพัฒนาตน ส่วนที่ 1 เป็นผู้มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอน • แผนการจัดการเรียนรู้ • แฟ้มสะสมผลงานคัดสรร ส่วนที่ 2 การพัฒนาตนเองเพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะ ในวิชาชีพที่สอน • การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ • การประมวลความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาวิชาการและวิชาชีพ • การให้บริหารทางวิชาการและวิชาชีพ
การดำเนินการ • ครูสายงานการสอน ต้องรวมรวมหลักฐานเอกสารเกี่ยวกับ 1. แผนการจัดการเรียนรู้ สื่อ นวัตกรรม 2. แฟ้มสะสมผลงานคัดสรร 3. แฟ้มพัฒนาตนเอง ไม่ต้องส่ง เก็บไว้ที่สถานที่ปฏิบัติงาน เพื่อรอรับการประเมินจากคณะกรรมการ
แนวคิดในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพแนวคิดในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ 1. มีการศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตรการสอน • จัดทำตารางวิเคราะห์หลักสูตร • กำหนดโครงสร้างรายวิชา/หน่วยการเรียนรู้ • กล่าวถึงคำอธิบายรายวิชา • ศึกษาแนวทางการนำหลักสูตรไปใช้สอน ทั้งหมดนี้ควรนำเสนอไว้ในตอนต้นของ “แผนการจัดการเรียนรู้”
แนวคิดในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพแนวคิดในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ 2. มีการวิเคราะห์ผู้เรียน • เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคล เพื่อแสดงให้เห็นเกี่ยวกับความพร้อมด้านต่างๆ • ด้านร่างการ • ด้านจิตใจ/อารมณ์ • ด้านสังคม • ด้านสติปัญญา ทั้งหมดนี้ควรนำเสนอไว้ในตอนต้นของ “แผนการจัดการเรียนรู้” ต่อจากการวิเคราะห์หลักสูตร
แนวคิดในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพแนวคิดในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ 3. การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ สามารถนำสู่การปฏิบัติได้จริง • มีความสอดคล้องกับหลักสูตร • มีความสอดคล้องกับความสามารถของผู้เรียน (ที่ได้วิเคราะห์ไว้) • มีองค์ประกอบของแผนฯ ครบถ้วน • มีการออกแบบการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย
แนวคิดในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพแนวคิดในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ 4. การวัดประเมินผล • ต้องระบุไว้ในแผนฯ เพราะเป็นส่วนหนึ่งของ การจัดการเรียนรู้ เน้นการวัดประเมินผลตามสภาพจริง ด้วยวิธีการที่หลากหลาย • การสังเกต • การประเมินผลงาน • กระบวนการทำกิจกรรม • การนำเสนองาน • การทดสอบความรู้/ความสามารถล • ฯลฯ
แนวคิดในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพแนวคิดในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ 5. ภาคผนวกหลังแผนฯ • ในแต่ละแผนฯ ควรแนบเอกสารหลักฐานต่างๆ ที่เกี่ยวกับแผนฯ นั้นๆ เช่น • แบบฝึก • กิจกรรม • ใบงาน • ฯลฯ
แนวคิดในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพแนวคิดในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ 6. บันทึกหลังสอน แผนฯ ที่ผ่านการนำไปสอนแล้ว ควรมีบันทึกผลหลังการสอน เพื่อเป็นร่องรอยหลักฐานให้ทราบว่า “แผนการจัดการเรียนรู้นั้น เมื่อนำไปสู่การปฏิบัติแล้วได้ผลเพียงใด (บรรยากาศการเรียนรู้) ประสบผลสำเร็จ (บรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้เพียงใด) มีปัญหา อุปสรรค์อะไรบ้าง”
แนวคิดในการจัดทำ“แฟ้มสะสมผลงานคัดสรร”แนวคิดในการจัดทำ“แฟ้มสะสมผลงานคัดสรร” แฟ้มสะสมผลงานคัดสรร คือ “แฟ้มเก็บรวบรวมผลการปฏิบัติงานที่มีความเกี่ยวข้องกับผู้เรียน สถานศึกษา ชุมชน และตนเอง ไว้ ณ ที่เดียวกันอย่างเป็นระบบ” ทั้งหมดนี้ควรนำเสนอไว้ในตอนต้นของ “แผนการจัดการเรียนรู้”
แนวคิดในการจัดทำ“แฟ้มสะสมผลงานคัดสรร”แนวคิดในการจัดทำ“แฟ้มสะสมผลงานคัดสรร” เพื่อให้การจัดทำแฟ้มมีคุณภาพและสอดคล้องกับเกณฑ์การประเมิน ควรออกแบบผลการปฏิบัติงานในแต่ละด้าน ด้านผู้เรียน ด้านชุมชน ด้านสถานศึกษา ด้านตนเอง
ด้านผู้เรียน • สมุดวิเคราะห์ผู้เรียน • สมุดบันทึกผลการพัฒนาผู้เรียน • สมุดบันทึกผลการติดตาม เฝ้าระวัง ดูแลนักเรียน • สมุดบันทึกการแนะแนว • สมุดบันทึกความดี ด้านสถานศึกษา ด้านชุมชน ด้านตนเอง
ด้านสถานศึกษา • งานโครงการที่โรงเรียนมอบหมาย • กิจกรรมของโรงเรียน • ภาระงานของโรงเรียน ด้านผู้เรียน ด้านชุมชน ด้านตนเอง
ด้านชุมชน • สมุดบันทึกการเยี่ยมบ้าน • บันทึกการสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน • การร่วมกิจกรรมกับชุมชน ด้านผู้เรียน ด้านสถานศึกษา ด้านตนเอง
ด้านตนเอง • สมุดบันทึกการเยี่ยมชั้นเรียน • สมุดบันทึกการนิเทศการศึกษา • แฟ้มพัฒนาตนเอง ด้านผู้เรียน ด้านสถานศึกษา ด้านชุมชน
แนวคิดในการจัดทำ“แฟ้มพัฒนาตนเอง”แนวคิดในการจัดทำ“แฟ้มพัฒนาตนเอง” ด้านการพัฒนาตนเอง พิจารณาจากการเพิ่มพูนความรู้และทักษะสาขาหรือกลุ่มสาระที่รับผิดชอบหรือในงานที่รับผิดชอบ โดยมีคะแนนการประเมิน 40 %
หลักการจัดทำแฟ้มพัฒนาตนเองหลักการจัดทำแฟ้มพัฒนาตนเอง • ตัวแฟ้มต้องมีความโดดเด่น สวยงาม น่าสนใจ • สาระสำคัญในแฟ้ม ต้องให้ข้อมูลและสะท้อนผล การเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ การประมวลผลความรู้อย่างเป็นระบบ การให้บริการวิชาการและวิชาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ • แนบเอกสาร/หลักฐาน • มีข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เป็นข้อมูลสนับสนุนให้เห็นคุณค่าการพัฒนาตนเองและเกิดผลดีกับการทำงาน • มีผู้บังคับบัญชารับรอง
องค์ประกอบของแบบแฟ้มพัฒนาตนเององค์ประกอบของแบบแฟ้มพัฒนาตนเอง 1. เขียนรายงานด้านที่ 1 ตามแบบ ก.ค.ศ. 2 เป็นรูปเล่มจำนวน 4 เล่ม พร้อมคำรับรองของ ผอ. สถานศึกษา และประธานกรรมการสถานศึกษา • ปกนอก • ปกใน • ภาพถ่าย • คำนำ • สารบัญ • อุดมการณ์ วิสัยทัศน์และเป้าหมาย การพัฒนาตนเอง • ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนตนเองและวิชาชีพครู
องค์ประกอบของแบบแฟ้มพัฒนาตนเององค์ประกอบของแบบแฟ้มพัฒนาตนเอง 1. เขียนรายงานด้านที่ 1 ตามแบบ ก.ค.ศ. 2 เป็นรูปเล่มจำนวน 4 เล่ม พร้อมคำรับรองของ ผอ. สถานศึกษา และประธานกรรมการสถานศึกษา • การปฏิบัติหน้าที่และความรับผิดชอบ • การพัฒนาตนเองเพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะในสาขาหรือกลุ่มสาระฯ ที่รับผิดชอบ (มีคะแนนประเมิน) • ผลงานความสำเร็จและความภาคภูมิใจ • คำรับรองของผู้บังคับบัญชา
องค์ประกอบของแบบแฟ้มพัฒนาตนเององค์ประกอบของแบบแฟ้มพัฒนาตนเอง 1. เขียนรายงานด้านที่ 1 ตามแบบ ก.ค.ศ. 2 เป็นรูปเล่มจำนวน 4 เล่ม พร้อมคำรับรองของ ผอ. สถานศึกษา และประธานกรรมการสถานศึกษา • ภาคผนวก (แนบเอกสาร/หลักฐาน) • ปริญญาบัตร • วุฒิบัตร เกียรติคุณบัตรผ่านการอบรม • สำเนา ก.พ.7 • เอกสาร/หลักฐาน แสดงความสำเร็จ • หนังสือรับรอง/คำสั่งไปประชุม อบรม สัมมนา • หนังสือเชิญเป็นวิทยากร/บันทึกการเผยแพร่ผลงาน • หลักฐานการประมวลความความรู้เกี่ยวกับการพัฒนางานวิชาการและวิชาชีพ
สรุป • การจัดทำผลงานด้านที่ 2 มุ่งทำผลงานที่แสดงความรู้ความสามารถเกี่ยวกับการพัฒนางานในหน้าที่และการพัฒนาตนเอง จำนวน 3 รายการ 1. แผนการจัดการเรียนรู้ สื่อ นวัตกรรม 2. แฟ้มสะสมผลงานคัดสรร 3. แฟ้มพัฒนาตนเอง ไม่ต้องนำเสนอหน่วยงานที่เหนือขึ้นไป เก็บไว้ที่สถานที่ปฏิบัติงาน เพื่อรอรับการประเมินจากคณะกรรมการ