1 / 66

ครู : คือ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงจริงหรือ?

ครู : คือ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงจริงหรือ?. วิทยากร ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม.๔๒. พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว.

Download Presentation

ครู : คือ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงจริงหรือ?

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ครู : คือ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงจริงหรือ? วิทยากร ดร.เชาวฤทธิ์ จงเกษกรณ์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพม.๔๒

  2. พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว การปฏิบัติราชการให้ดีนั้นกล่าวอย่างสั้น ง่าย และตรงที่สุด คือทำให้สำเร็จทันการ และให้ได้ผลเป็นประโยชน์แต่ทางเดียว ซึ่งจะทำได้เมื่อบุคคล มีวิชาความสามารถ และมีปัญญา ความรู้ คิดพิจารณา เห็นสิ่งที่เป็นคุณ เป็นโทษ เป็นประโยชน์ มิใช่ประโยชน์อย่างชัดเจน ถูก ตรง

  3. พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เกียรติและความสำเร็จ เกิดจากผลการปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตัวของแต่ละคนที่สามารถปฏิบัติงาน ในความรับผิดชอบให้ได้ผลสมบูรณ์ ตรงตามวัตถุประสงค์ และปฏิบัติตัวให้สุจริต เที่ยงตรง พอควรพอดี แก่ตำแหน่งหน้าที่ที่ดำรงอยู่

  4. ผู้นำที่ยิ่งใหญ่ มองกว้าง คิดไกล ใฝ่สูง พระธรรมปิฎก

  5. ผู้นำไม่ใช่ผู้ที่จะนำคนอื่นผู้นำไม่ใช่ผู้ที่จะนำคนอื่น แต่ผู้นำที่ดี คือผู้ที่คนอื่นอยากเดินตาม อานันท์ ปันยารชุน

  6. หากว่าชุบเลี้ยงอย่างถึงขนาดแล้ว หากว่าชุบเลี้ยงอย่างถึงขนาดแล้ว • แต่ไม่สามารถช่วงใช้ได้ • รักอย่างสุดใจ • แต่ไม่อยู่ในบังคับบัญชา • กระทำผิดระเบียบวินัย • ก็ไม่อาจลงโทษทัณฑ์กัน • เหล่าพลเช่นนี้เปรียบเหมือนบุตร • ที่กำเริบเสิบสานใช้ทำศึกไม่ได้เลย ซุนวู

  7. บริหารนาย 1. แก้ปัญหาให้นาย 2. ยกย่องสิ่งที่นายช่วยเหลือ 3. กระตุ้นให้นายพูด ทำอย่างตั้งใจ 4. ป้อนกลับอย่างสร้างสรรค์ 5. เสนอวิถีใหม่ให้นาย 6. จงรักภักดี 7. ต่อรองบางครั้ง ถ้าไม่ถูกต้อง

  8. บริหารเพื่อน 1. ช่วยเพื่อนให้บรรลุเป้าหมาย สำเร็จ 2. เข้าใจปัญหา แลกเปลี่ยนข้อมูล 3. เป้าหมายเดียวกัน ทำด้วยกัน 4. สร้างกลุ่มแก้ปัญหา 5. ดึงเพื่อน

  9. บริหารลูกน้อง 1. เพิ่มความไว้ใจ 2. ชม เมื่อทำดี 3. แจ้งความดีลูกน้อง ให้นายทราบ 4. ช่วยแก้ปัญหา 5. ให้ข้อมูลใหม่ 6. ฝึก 7. ไม่รู้บอกว่าไม่รู้ 8. ประเมินสม่ำเสมอ 9. พึ่งพากัน 10.บทบาทชัดเจน

  10. บริหารเครือข่าย 1. แลกเปลี่ยนข้อมูล 2. แนะนำ ทำต่อ อ้างอิง 3. ความเห็น เสนอแนะ 4. ให้กำลังใจ

  11. บริหารการเปลี่ยนแปลง จุดประกาย ขยายความคิด เพิ่มผลผลิต ผิดเป็นครู สู้ไม่ถอย คอยปรับปรุง

  12. MENTOR : ครู 3.พัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา เก่ง ความรับผิดชอบ

  13. “You don’t find success inside yourself you find success outside yourself” Other person Family Idea Hobby Company IQ Hard work SUCCESS It’s about finding a horse to ride นพ.สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยสำนักส่งเสริมสุขภาพ

  14. เป้าหมายคุณลักษณะของครูในศตวรรษที่ 21

  15. wordPress.com (2011) ว่า ครูควรเปลี่ยนแปลงจากผู้กระจายเป็นผู้ประพันธ์การเรียนรู้ โดยช่วยนักเรียนเปลี่ยนสารสนเทศเป็นความรู้ และเปลี่ยนความรู้เป็นภูมิปัญญา

  16. โดยเน้นทักษะ ดังนี้ ความร่วมมือเป็นทีม (collaboration) การคิดเชิงวิพากษ์ (critical thinking) การนำเสนอ (oral communications) การเขียน (written communications) การใช้เทคโนโลยี (technology) ความเป็นพลเมืองที่ดี (citizenchip) การเรียนรู้ในอาชีพ (learn about careers) มีเนื้อหาคววามรู้ (content)

  17. Alex lagone ว่า ครูในศตวรรษที่ 21ควรเป็นผู้นำที่มีความยืดหยุ่น ร่วมมือ ทำวิจัย รู้สไตล์การเรียนรู้สำหรับนักเรียนของตน สไตล์การเรียนรู้หลายรูปแบบกับนักเรียนที่มีความสามารถแตกต่างกัน

  18. ลักษณะ 8 ประการ ในทัศนะของ churches 1. สามารถปรับตัว (adapting) 2. มีวิสัยทัศน์ (being visionary) 3. ทำงานแบบร่วมมือ (collaborating) 4. กล้าคิดกล้าทำ (taking risks) 5. เรียนรู้ตลอดชีวิต(life-longlerning) 6. เป็นนักสือสาร (communitor) 7. เป็นต้นแบบทางพฤติกรรม (learn about careers) 8. เป็นผู้นำ (leading)

  19. บทบาทของครูในศตวรรษที่ 21 ที่สำคัญ 3 ประการ

  20. นฤมล รอดเนียม (2550) ครูในศตวรรษที่ 21 • จากกระแสของโลกาภิวัตน์ที่พยายามที่จะเชื่อมโลกให้เป็นหนึ่งเดียว ทั้งด้านความคิด มุมมอง และการกระทำ • ผลกระทบต่อ การเมือง เศรษฐกิจ การศึกษา วัฒนธรรม และวิถีชีวิต • จากผลกระทบดังกล่าวครูจำเป็นต้องพัฒนาทักษะ ICTให้เป็นครู E-Teacher

  21. ครูในยุคศตวรรษที่ 21 หรือเรียกว่า E-Teacher 1. Experience คือ มีประสบการณ์การเรียนรู้แบบใหม่ 2. Extended คือ มีทักษะการค้นหาความรู้ได้ตลอดเวลา 3. Expanded คือ การขยายผลของความรู้นั้นสู่นักเรียน 4. Exploration คือ สามารถเลือกเนื้อหาที่ทันสมัย 5. Evaluation คือ เป็นนักประเมินที่ดี 6. End-User คือ เป็นผู้ใช้ปลายทางที่ดี 7. Enabler คือ สามารถใช้เทคโนโลยีสร้างบทเรียนและเนื้อหา 8. Engagement คือ ครูที่ร่วมมือกันแลกเปลี่ยนความเห็น 9. Efficient and Effective คือ ครูที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

  22. คิดใหม่-ศาสตร์การสอนในยุคดิจิตอล 1. ศาสตร์การสอน (Science of Teaching)หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับการเรียนรู้และการสอนที่สังคมโลก ที่ได้สั่งสมมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งครูสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามเป้าหมาย จุดมุ่งหมาย และ วัตถุประสงค์ของการสอนที่กำหนด ความรู้ดังกล่าวได้มาจากการคิด การวิเคราะห์ของนักปราชญ์ และนักคิด หรือได้มาจากการศึกษาค้นคว้า ทดสอบ พิสูจน์ ตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักจิตวิทยาและนักการศึกษาต่าง ๆ ประกอบด้วย ปรัชญาการศึกษา บริบททางการสอน ทฤษฎี หลักการ แนวคิด ระบบ รูปแบบ วิธีการ เทคนิค และจิตวิทยาทางการเรียนรู้และการสอน การวางแผนและออกแบบการจัดการเรียนการสอน การดำเนินการเรียนการสอน ตลอดจนการวัดและการประเมินผล

  23. ศาสตร์ใหม่ ยุคใหม่ เรียนรู้ได้ทุกหนทุกแห่ง

  24. Technology Based Paradigm • แวดวงทางการศึกษาทั่วโลกต่างก้าวพ้นรูปแบบการเรียนการสอนที่ใช้ครูเป็น ศูนย์กลางมาเป็นการเรียนรู้ในแบบกระบวนทัศน์ใหม่ เรียกได้ว่าเป็นการจัดการศึกษายุคฐานแห่งเทคโนโลยี วิโรจน์ สารรัตนะ:2013

  25. คุณลักษณะของเด็กไทยในยุคดิจิตอลจะต้องมีคุณลักษณะที่สำคัญ 3 ประการ

  26. การจัดการเรียนการสอนในยุคศตวรรษที่ 21 ยุคดิจิตอล , Kamat (2012)

  27. 10 แนวโน้มของการศึกษาในศตวรรษที่ 21 Eston (2011)

  28. 10 แนวโน้มของการศึกษาในศตวรรษที่ 21

  29. ทัศนะเกี่ยวกับการเตรียมนักเรียนในปัจจุบันเพื่อสังคมอนาคตในอนาคตที่ซับซ้อนทัศนะเกี่ยวกับการเตรียมนักเรียนในปัจจุบันเพื่อสังคมอนาคตในอนาคตที่ซับซ้อน Tony Wagner (2008)

  30. การจัดการศึกษาเพื่อบรรลุความต้องการในศตวรรษที่ 21

  31. ห้องเรียนสำหรับการศึกษาศตวรรษที่ 21

  32. โลก คือ ห้องเรียน มิใช่ห้องเรียนคือโลก ขอพระคุณครับ

  33. ทำไม? : ครูไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง

  34. Nature of Change • หลีกเลี่ยงไม่ได้ เราไม่ได้เลือก • มาจากปัจจัยภายนอก ควบคุมไม่ได้ • ไม่ไช่อย่างที่ต้องการทุกครั้ง • มีผลกระทบข้างเคียง ต่อเนื่อง • มุมมองเปลี่ยนไปตามกาลเวลา • ในที่สุดก็สามารถผ่านมาได้

  35. ทำไมคนถึงต่อต้านการเปลี่ยนแปลงทำไมคนถึงต่อต้านการเปลี่ยนแปลง Maslow's Hierarchy of Needs Need for self fulfillment: ความต้องการความสำเร็จ 5 " I'm better than I was last year. " Need for Esteem: ความต้องการชื่อเสียง 4 " I'm terrific - if not the greatest. " Need to belong and be accepted: ความต้องการทางสังคม 3 " I want to belong. " Need to feel secure: ความต้องการความมั่นคง ปลอดภัย 2 " I want to be safe. " Physiological needs: ความต้องการทางร่างกาย 1 " I'm hungry. "

  36. ความกลัวการเปลี่ยนแปลงความกลัวการเปลี่ยนแปลง ขาดรายได้หรือสิ่งที่เคยได้ไม่ได้ เป็นไปได้ว่าจะตกงาน รู้สึกไม่มั่นคงไม่รู้ว่าจะเกิดอะไรขึ้นข้างหน้า ขาดความรู้สึกความภูมิใจในงาน ที่เคยได้รับการยกย่องอาจจะได้รับการตำหนิ เป็นไปได้ว่าจะไม่ได้ทำงานร่วมกับทีมงานที่เคยเข้ากันได้ดี รู้สึกว่าความชำนาญที่มีอยู่จะใช้ไม่ได้แล้ว ไม่อาจวางเป้าหมายในชีวิตได้เช่นเคย ฯลฯ

  37. รูปแบบของการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง • การต่อต้านที่ปรากฏชัดเจน - น้ำเสียง - แสดงออกอย่างท้าทาย • การแสดงออกที่ไม่ปรากฏชัดเจน - รับฟัง แต่ไม่ร่วมมือ - ไม่ร่วมมือด้วย - ปล่อยข่าว

  38. ท่านเข้าใจว่าอย่างไร

  39. เราจะจัดการกับการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงอย่างไร เราจะจัดการกับการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงอย่างไร

  40. การจัดการกับการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงการจัดการกับการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง • คำนึงถึงผู้เกี่ยวข้องทุกคนในการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น • หาแนวทางจัดการกับทุกกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง • สื่อสารกับผู้เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจ • สร้างแนวทางเพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องสนับสนุน • การทำความเข้าใจกับพฤติกรรมที่ต่อต้านการ เปลี่ยนแปลง • การดำเนินการกับการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง

  41. กลยุทธการสื่อสาร • สื่อให้ชัดว่าใครคือผู้นำการเปลี่ยนแปลง • สื่อสารให้เห็นความจำเป็นที่องค์กรต้องเปลี่ยนแปลง • สื่อแผนงาน แนวทาง เป้าหมายในการเปลี่ยนแปลงให้ชัดเจน • อธิบายให้เห็นถึงปัจจัยที่จะทำให้การเปลี่ยนแปลงเกิดความสำเร็จ • ใช้ภาษาให้ง่าย • ใช้ภาพช่วยในการสื่อ • เตรียมแนวทางการสื่อสารที่ชัดเจน เป็นระบบ • ใช้การสื่อสารในหลายรูปแบบ ให้เหมาะสมกับคนแต่ละกลุ่ม • เตรียมช่องทางสำหรับการรับข้อมูลย้อนกลับ

  42. Change management Process Step 1 : Preparing For Change Step 2 : Managing Change Step 3 : Reinforcing Change

  43. CHANGE By Changing Your Thinking, You Change Your Beliefs; When You Change Your Beliefs, You Change Your Expectations; When You Change Your Expectations, You Change Your Attitude; When You Change Your Attitude, You Change Your Behaviour; When You Change Your Behaviour, You Change Your Performance; When You Change Your Performance, You Change Your Life!

  44. ผู้นำการเปลี่ยนแปลง

  45. แนวคิดเชิงระบบ • 1. หนึ่งองค์กรหลายระบบ • องค์กรประกอบด้วยหลายระบบที่ปฏิสัมพันธ์กัน • เพื่อเป้าหมายขององค์กร • 2. ระบบที่ดี = ระบบคุณภาพ • แต่ละระบบจะมีกระบวนการต่าง ๆ ซึ่งประกอบด้วย • ชุดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ ที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง • สัมพันธ์กัน ระบบคุณภาพช่วยวางระบบให้ดำเนินการ • อย่างมีคุณภาพสม่ำเสมอ (ผลิตซ้ำคุณภาพ) เมื่อทำครบ • วงจร คือ ทำตามระบบ ประเมินระบบ และปรับปรุงระบบ • ก็จะทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง 3. ข้อมูลย้อนกลับของระบบนำไปสู่การปรับปรุง บนข้อเท็จจริง • ระบบที่ดีจะมีข้อมูลและสารสนเทศ ซึ่งให้ข้อมูล • ป้อนกลับที่นำไปสู่การปรับปรุงระบบ

  46. หนึ่งโรงเรียนหลายระบบหนึ่งโรงเรียนหลายระบบ Input Process Output ระบบสนับสนุน ระบบหลัก ผลลัพธ์ด้าน คุณลักษณะผู้เรียน ทิศทางองค์กร - ระบบการเรียนรู้ • - ระบบการนำองค์กร • - ระบบยุทธศาสตร์ - ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน - ระบบกิจกรรมนักเรียน บริหารจัดการทั่วไป - ระบบบริหารจัดการ - ระบบการดูแลคุณธรรมจริยธรรมในวิชาชีพ - ระบบการพัฒนาบุคลากร - ระบบชุมชนสัมพันธ์ ระบบสารสนเทศ

  47. แนวคิดเชิงระบบมาเชื่อมโยงกับการจัดการสมัยใหม่แนวคิดเชิงระบบมาเชื่อมโยงกับการจัดการสมัยใหม่ วางยุทธศาสตร์อิงระบบ ปรับปรุง/พัฒนางาน โดยสร้างระบบการจัดการ (คุณภาพ) พัฒนาคนและทีมในการจัดการความรู้ และสื่อสารจูงใจคน โดยเชื่อมโยงกับระบบ

  48. ผู้นำการเปลี่ยนแปลง ตนเอง การเปลี่ยนแปลง คณะครู ครู

More Related