80 likes | 174 Views
Enhance business competitiveness using knowledge management. Utilize information technology tools. Implement effective knowledge capture, distribution, and sharing processes for organizational success. Digital firms thrive with streamlined Knowledge Work Systems.
E N D
Knowledge Management ; KM Kulachatr C. Na Ayudhya
Knowledge Management การบริหารความรู้ในองค์กร • หัวใจของธุรกิจที่พึ่งพาระบบสารสนเทศ ใช้ความรู้เป็นหลักในการดำเนินธุรกิจโดยผลิตสินค้าหรือบริการที่มีนวัตกรรมหรือต้นทุนต่ำกว่าคู่แข่ง • ทรัพย์สินทางปัญญามีความสำคัญต่อการได้เปรียบในการแข่งขันและสร้างความอยู่รอดได้มากกว่าทรัพย์สินอื่นๆขององค์กร Kulachatr C. Na Ayudhya
Knowledge Management • ความรู้จึงกลายเป็นเครื่องมือหรือกลยุทธ์สำคัญในการบริหารกิจการสมัยใหม่ในยุคดิจิตอล • องค์กรที่มีความรู้ ความสามารถจะมีประสิทธิภาพในการทำงานมากกว่าขึ้นกว่าเดิม • จึงควรเพิ่มพูนความรู้ให้แก่องค์กรผ่านกลไกการเรียนรู้ในหลากหลายรูปแบบ เช่น กระบวนการลองผิดลองถูก กระบวนการวิจัย การรวบรวมความรู้จากสื่อดิจิตอลหรืออินเทอร์เนต ฯลฯ Kulachatr C. Na Ayudhya
Knowledge ManagementDefinition “กระบวนการที่องค์กรพัฒนาขึ้นมาเพื่อนำมา สร้าง รวบรวม เก็บรักษา บำรุงรักษา และเผยแพร่ความรู้ขององค์กร” (Laudon and Laudon,2002) • โดยมีเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือหลักในการบริหารความรู้และกระบวนการเรียนรู้ • บางองค์กรขาดกระบวนการบริหารที่ดี ทั้งๆที่มีความรู้อยู่อย่างมากมาย ,So…กระบวนการบริหารความรู้ที่ดี คือ • กระบวนการเก็บรวบรวมความรู้ (Capture & Codifying Process) • กระบวนการแจกจ่ายความรู้ (Distribute & Share of Knowledge) Kulachatr C. Na Ayudhya
Knowledge Work System ;KWS ระบบงานภูมิปัญญา (KWS) • ระบบที่อำนวยความสะดวกในการไหลเวียนข้อมูล ข่าวสารภายในองค์กร ทำให้องค์กรมีความเข้าใจและตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ • ได้แก่ ระบบงานองค์กร ระบบเครือข่ายภายใน ภายนอกองค์กร ระบบฐานข้อมูล ระบบเหมืองข้อมูล โปรแกรมประยุกต์สำหรับการสื่อสารระหว่างกัน(Chatting Program ;MSN,ICQ or Lotus Note) • องค์กรที่มีการใช้ IT เพื่อการบริหารข้อมูลข่าวสารเหล่านี้ จึงนิยมเรียกว่า องค์กรดิจิตอล (Digital Firm) Kulachatr C. Na Ayudhya
Knowledge Work System ;KWS ลักษณะของฐานความรู้ในองค์กร • ความรู้ภายในองค์กรที่มีโครงสร้าง เช่น คู่มือการใช้งาน (manual) ,รายงานการวิจัย • ความรู้ภายนอกองค์กร เช่น ข้อมูลคู่แข่ง สภาวะตลาด อัตราดอกเบี้ย • ความรู้โดยนัย (Tactic Knowledge) • เป็นความรู้ที่ไม่มีโครงสร้าง ไม่มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร รู้เองได้โดยนัย Kulachatr C. Na Ayudhya
IT Infrastructure for Knowledge Management กระจายความรู้ แบ่งปันความรู้ ระบบงานสำนักงาน - ระบบการไหลเวียน ข่าวสาร - ระบบงานเอกสาร - การพิมพ์เอกสาร - ปฏิทินอิเล็กทรอนิกส์ การประสานงานระหว่างกลุ่มและระบบสนับสนุน ระบบแลน อินทราเนต ระบบงานที่ต้องการใช้ความรู้ - คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ - ระบบงานเสมือนจริง ระบบปัญญาประดิษฐ์ - ระบบผู้เชี่ยวชาญ เก็บรวบรวมและสร้างรหัสความรู้ใหม่ สร้างความรู้ เครือข่าย ฐานข้อมูล หน่วยประมวลผล ซอฟท์แวร์ อินเทอร์เนต Laudon , Laudon ,2002 Kulachatr C. Na Ayudhya
Knowledge Work System ;EX ตัวอย่างระบบงานภูมิปัญญา • CAD/CAM • ช่วยในงานการออกแบบทางอุตสาหกรรม • Virtual Reality System • ช่วยสร้างรูปภาพกราฟฟิกเสมือนจริง • Investment Workstation • เครื่องมือช่วยวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเงิน Kulachatr C. Na Ayudhya