1 / 68

การประเมินและการตอบคำถาม ตามเกณฑ์ PMQA หมวด 1-6

การประเมินและการตอบคำถาม ตามเกณฑ์ PMQA หมวด 1-6. ข้อพึงระวังในการตอบคำถาม. ตอบ คำถา มได้ ตรงตามประเด็น คำถาม ครบถ้วน ครอบคลุม ตอบ ตาม ความเป็น จริง ตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน ปีที่ผ่านมา ตอบตามกระบวนการจัดการที่ดี (ADLI) และตามระบบผลลัพธ์ (LeTCLi)

redell
Download Presentation

การประเมินและการตอบคำถาม ตามเกณฑ์ PMQA หมวด 1-6

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินและการตอบคำถามการประเมินและการตอบคำถาม ตามเกณฑ์ PMQA หมวด 1-6

  2. ข้อพึงระวังในการตอบคำถามข้อพึงระวังในการตอบคำถาม ตอบคำถามได้ตรงตามประเด็นคำถาม ครบถ้วน ครอบคลุม ตอบตามความเป็นจริงตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปีที่ผ่านมา ตอบตามกระบวนการจัดการที่ดี (ADLI)และตามระบบผลลัพธ์ (LeTCLi) คำตอบควรสมบูรณ์จบประเด็นในข้อของตัวเอง หากต้องมีการอ้างอิงเชื่อมโยงจากหัวข้ออื่น ให้อ้างถึงข้อนั้นโดยไม่ต้องรายงานข้อมูลซ้ำซ้อน พยายามเลือกใช้คำที่กระชับ ตรงประเด็น ชัดเจน มากกว่าคำกว้างๆเกินไป ควรเพิ่มการอธิบายถึง หลักฐานของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นประกอบพอสมควร ต้องตระหนักว่า กำลังเขียนเพื่อให้คนอื่นเข้าใจการกระทำของเราที่ ถูกต้องชัดเจน ตามความเป็นจริง รายงานนี้ ยังไม่ใช่รายงานตรวจประเมินเพื่อประกวดรางวัล (Application report) วัตถุประสงค์เพื่อรายงานสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ ยังไม่มีการประเมินค่าแต่อย่างใด (จะมีการประเมินในขั้นตอนหลังการทำรายงานนี้)

  3. แนวทางการประเมิน มิติ กระบวนการ มิติ ผลลัพธ์ • แนวทาง (Approach - A) • การถ่ายทอดเพื่อนำไปปฏิบัติ (Deployment - D) • การเรียนรู้ (การทบทวนและ ปรับปรุง) (Learning - L) • การบูรณาการ (Integration - I) • ผลการดำเนินการปัจจุบัน (Level - Le) • แนวโน้ม (Trend - T) • ผลการดำเนินการเปรียบเทียบ (Comparison - C) • ครอบคลุมและความสำคัญของ ผลลัพธ์ (Linkage - Li)

  4. แนวทางการให้คะแนน หมวด 1-6 คำถามประเภทWHAT

  5. วงจรการจัดการ 4 ขั้นตอน : ADLI เป็นระบบ ชัดเจน ทำซ้ำได้ บูรณาการ ฐานข้อมูล วัดได้ ติดตามได้ มุ่งปรับปรุง Approach A มุ่งเป้า องค์กร A1 Goal A2 Plan A3 Assessment Plan ผลลัพธ์ ตรงเป้า Deployment D Result R Learning L Integration I ทำครอบคลุม ทุกหน่วย ทุกคน ทุกขั้น จริงจัง ความสอดคล้องของ เป้า แผน ปฏิบัติ วัด ปรับ ติดตาม แลกเปลี่ยน ปรับปรุง

  6. แนวทางการอธิบาย ADLI

  7. แนวทางการอธิบาย ADLI

  8. แนวทางการให้คะแนน หมวด 1-6 คำถามประเภท HOW

  9. แนวทางการตอบคำถามหมวด 7

  10. ประเมินองค์กรหมวด 7 (LeTCLi) • แนวโน้มผลการดำเนินงาน • (อย่างน้อยสามปี) • ผลการดำเนินงาน • ในปัจจุบันเทียบกับ • เป้าหมาย (Level- Le) (Trend - T) (Linkage- Li) (Comparison - C) • มีการเชื่อมโยงกับ • ตัวชี้วัดผลต่าง ๆ กับ • เกณฑ์หมวดต่าง ๆ • ผลการดำเนินงานเปรียบ • เทียบกับองค์กรที่มีภารกิจ • คล้ายคลึงหรือเทียบเคียงได้

  11. รูปแบบการตอบคำถาม: หมวด 7 แบบตาราง ปรับรูปแบบไม่ได้ แบบกราฟ แบบคำอธิบายกราฟ

  12. การตอบคำถาม ความ ครอบคลุม เชื่อมโยง ของตัวชี้วัด 2547 2548 2549

  13. 12 คำถาม หมวด 1 การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ก. การกำหนด ทิศทาง ของส่วนราชการ ข. การกำกับ ดูแลตนเองที่ดี ค. การทบทวน ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ก. ความ รับผิดชอบ ต่อสังคม ข. การดำเนินการอย่างมี จริยธรรม ค. การให้การสนับสนุนต่อ ชุมชนที่สำคัญ • การกำหนด วิสัยทัศน์ เป้าประ สงค์ระยะสั้นและระยะยาว ค่านิยม และผลการ ดำเนิน การที่คาดหวัง และการถ่ายทอดไปสู่การปฏิบัติ • การสร้างบรรยากาศ การกระจายอำนาจตัดสินใจ นวัตกรรมและความคล่องตัว • การกำหนดวิธีปฏิบัติเพื่อการดำเนินการอย่างมีจริยธรรม • ความโปร่งใสตรวจสอบได้ • การปกป้อง ผลประโยชน์ ของประเทศชาติ • ความรับผิดชอบ • การดำเนินการทบทวน ผลการดำเนินการ • ตัวชี้วัดที่สำคัญและผลการทบทวนที่ผ่านมา • การนำผลมาปรับปรุงส่วนราชการและสร้างนวัตกรรม • การประเมินผลงานของผู้บริหาร • การดำเนินการกรณีที่การปฏิบัติงานมีผลกระทบ ต่อสังคม • การจัดการกับผลกระทบ • การคาดการณ์ล่วงหน้าถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต • การสนับสนุนและสร้างความเข้มแข็งให้แก่ ชุมชนที่สำคัญ • การมีส่วนร่วมในกิจกรรมพัฒนาชุมชน

  14. หมวด 2การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 9 คำถาม 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักไปปฏิบัติ ก. การถ่ายทอด แผนปฏิบัติการไปสู่ปฏิบัติ ข. เป้าประสงค์ เชิงยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ ก. กระบวนการ จัดทำยุทธศาสตร์ ข. การคาดการณ์ ผลการดำเนินการ • (17)5การนำแผนสู่การปฏิบัติ 5.1วิธีถ่ายทอด 5.2การจัดสรรทรัพยากร5.3ทำให้ผลมีความยั่งยืน • (18)6แผนปฏิบัติการ 6.1 what แผนปฏิบัติการที่สำคัญ 6.2แผนการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ(บริหารความเสี่ยง จากการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ จากผู้รับบริการผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย .(19)7what แผนหลักด้านทรัพยากรบุคคล 4ปี 1 ปี • (20)8 ระบบการวัดผลสำเร็จ 8.1 whatตัวชี้วัดติดตามแผนปฏิบัติการ8.2 การทำระบบการวัดผลสำเร็จของแผนเพื่อมุ่งไปทิศทางเดียวกัน • (15)3whatประเด็น ยุทธศาสตร์3.1ยุทธาสตร์เป้าประสงค์ กลยุทธ์ 3.2เป้าหมาย ระยะเวลา 3.3ลำดับความสำคัญของเป้าประสงค์ • (16)4การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์เป้าประสงค็ กลยุทธ์4.1แผน 4ปี4.2แผน1ปี • ดูความท้าทาย ความสมดุลของโอกาสระยะสั้น ระยะยาว ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • (13)1การวางแผนยุทธ-ศาสตร์แผน 1ปีและแผน4ปี ขั้นตอนและผู้เกี่ยวข้อง กรอบเวลาและเหตุผล กิจกรรมที่สอดคล้องกับกรอบเวลา • (14)2การนำปัจจัยภายใน ภายนอกมาประกอบการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์(ปัจจัยต่างๆ การรวบรวม การวิเคราะห์ RM (21)9 what เป้าหมาย 9.1 เป้าหมายของตัวชี้วัด 9.2 เป้าหมายเปรียบเทียบ IDP

  15. หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 11 คำถาม 3.1 ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์และความ พึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความรู้เกี่ยวกับ ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ก. ความสัมพันธ์และความพึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ข. การวัดความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • การจำแนกกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • การรับฟังและเรียนรู้เพื่อกำหนดความต้องการและความคาดหวังของผู้รับบริการ • การทบทวนและปรับปรุงวิธีการรับฟังและเรียนรู้ • การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการ • กลไกหลักๆที่ผู้รับบริการติดต่อส่วนราชการ • กระบวนการจัดการข้อร้องเรียน • ทำให้วิธีการสร้างความสัมพันธ์มีความทันสมัยเสมอ • การวัดความพึงพอใจ ไม่พึงพอใจ • การใช้ช้อมูลมาปรับปรุงการดำเนินการ • การติดตามช้อมูลจากผู้รับบริการ

  16. หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 10 คำถาม 4.2 การจัดการสารสนเทศ และความรู้ 4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการของส่วนราชการ ข. การจัดการความรู้ ก. การวัดผลการดำเนินการ ข. การวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ก. ความพร้อมใช้งานของข้อมูล และสารสนเทศ • การจัดการความรู้(KM)รวบรวม ถ่ายทอดจากบุคลากรในองค์กรและจากคนอื่น แลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ • (42)10การจัดการให้สารสนเทศ ความรู้ให้มีคุณสมบัติที่ดี 11 ประการคือครอบคลุมรวดเร็ว ถูกต้อง ทันสมัย เชื่อมโยง น่าเชื่อถือการเข้าถึง สามารถตรวจสอบ การมีส่วนร่วมในกระบวนการข้อมูล ปลอดภัย การรักษาความลับ (33)1การเลือกการใช้ข้อมูล 1.1การเลือกรวบรวมข้อมูลารสนเทศที่สอดคล้อง เชื่อมโยงเพื่อติดตามผลการดำเนินงานขององค์กร 1.2การใช้ข้อมูลารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ สนับสนุนให้เกิดนวัตกรรม (35)3การปรับปรุงระบบวัดผล3.1การทบทวนให้เหมาะสม ทันสมัย 3.2การจัดระบบให้ไวต่อการบ่งชี้จากการเปลี่ยนแปลงภายใน ภายนอก • (38)6การจัดการข้อมูลสารสนเทศ(IT)ให้พร้อมใช้ ผู้เกี่ยวข้องเข้าถึงได้ • (39)7การจัดการระบบอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อ งกับสารสนเทศให้เชื่อถือได้ ปลอดภัย ใช้งานง่าย • (40)8การทบทวนปรับปรุงระบบสารสนเทศและอุปกรณ์ให้เหมาะสมทันสมัย (36)4what ประเด็นที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ผู้บริหาร. ทบทวนผลการดำเนินงาน .วางเผนเชิงยุทธยุทธศาสตร์ (37)5 การสื่อสารผลการวิเคราะห์ให้ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ KM IT IT

  17. หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 21คำถาม 5.1 ระบบงาน 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากร และการสร้างแรงจูงใจ 5.3 ความผาสุกและความ พึงพอใจแก่บุคลากร ก. การจัดระบบบริหารงาน บุคคล ข. ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ค. การจ้างงาน และความก้าวหน้าในการงาน ก. สภาพแวดล้อม ในการทำงาน ข. การให้การสนับสนุนและ สร้างความพึงพอใจ แก่บุคลากร • การจัดระบบและบริหารงานเพื่อให้เกิดความร่วมมือ และความคล่องตัว • คำนึงถึงวัฒนธรรมและความคิด • การสื่อสารและแลกเปลี่ยนความรู้ของบุคลากร • การประเมินผลและให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อสนับสนุนผลการดำเนินการ • การบริหารค่าตอบแทน รางวัล และสิ่งจูงใจต่างๆ • การกำหนด คุณ ลักษณะและทักษะที่จำเป็น • การสรรหาว่าจ้าง • การสืบทอดตำแหน่ง • การกำหนดปัจจัยที่สำคัญต่อความผาสุกความพึงพอใจ และแรงจูงใจ • การบริการ สวัสดิการ และนโยบายสนับสนุนพนักงาน • กำหนดตัวชี้วัดความผาสุก • การนำผลประเมินความผาสุกมาปรับปรุง • การปรับปรุงสุขอนามัย ป้องกันภัย • การเตรียมพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน ก. การศึกษา การฝึก อบรม และการพัฒนาบุคลากร ข. การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนา ความก้าวหน้าในงาน • การหาความต้องการในการฝึกอบรม • การส่งเสริมการใช้ความรู้และทักษะใหม่ • การจูงใจให้พนักงานพัฒนาตนเองและใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่

  18. หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 12คำถาม 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน 6 คำถาม 6 คำถาม ก. กระบวนการที่สร้างคุณค่า ก. กระบวนการสนับสนุน • การกำหนดกระบวนการที่สร้างคุณค่า • การจัดทำข้อกำหนดของกระบวนการสร้างคุณค่า • การออกแบบกระบวนการเพื่อตอบสนองข้อกำหนดที่สำคัญ • การควบคุมและปรับปรุงกระบวนการที่สร้างคุณค่า • การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบและตรวจประเมิน • การกำหนดกระบวนการสนับสนุน • การจัดทำข้อกำหนดของกระบวนการสนับสนุน • การออกแบบกระบวนการเพื่อตอบสนองข้อกำหนดที่สำคัญ • การควบคุมและปรับปรุงกระบวนการสนับสนุน • การลดค่าใช้จ่ายด้านการตรวจสอบ ทดสอบและตรวจประเมิน

  19. หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ 15 คำถาม 7.3 มิติ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ 7.1 มิติ ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ 7.2 มิติ ด้านคุณภาพ การให้บริการ 7.4 มิติ ด้านการพัฒนา องค์กร • ผลการบรรลุความสำเร็จของยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติงาน • ผลด้านการบูรณาการกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกันในการให้บริการ หรือการปฏิบัติงาน (*) • ผลด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ • ผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการที่สร้างคุณค่า • ผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของกระบวนการสนับสนุน • ผลความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของผุ้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ผลตัวชี้วัดที่สำคัญอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • ผลด้านระบบบริหารงานบุคคล • ผลด้านการเรียนรู้และพัฒนาของบุคลากร • ผลด้านความผาสุก ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของบุคลากร • ผลด้านการสร้างนวัตกรรมและการนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ • ผลการเปิดเผยรายงานผลการใช้งบประมาณรายรับ-รายจ่ายประจำปี รายการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างโดยให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตรวจสอบได้ • ผลด้านการปฏิบัติตามข้อบังคับและกฎหมาย • ผลด้านการดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม การสร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการบริหารงาน • ผลด้านการเป็นองค์กรที่ดี (Organizational Citizenship) ในการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ

  20. สรุปขั้นตอน การประเมิน องค์กรด้วยตนเอง

  21. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 ขั้นตอนการประเมิน 1.ตั้งคณะทำงาน 4-8 คน 2.ชี้แจงวัตถุประสงค์ 3.กำหนดแผนงาน วัน เวลา 4.ศึกษาเกณฑ์โดยละเอียด 5.ประเมินร่วมกันฉันท์มิตร 6.บันทึก หลักฐาน ข้อคิดเห็น 7.ทำรายงานส่ง

  22. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 ข้อแนะนำ 1.ประเมินเพื่อดูจุดอ่อนจุดแข็ง 8.ไม่ควรประเมินเกินวันละ 4 ชม 2.พิจารณาตามขอบเขตหน่วยงาน 9.ถามให้ครบวงจรการจัดการทุกข้อ 3.จัดสรรเวลาให้เหมาะสม 10.ให้ความเห็นก่อนลงคะแนน 4.ไม่ต้องทำการวิเคราะห์สาเหตุ 11.ทำข้ามข้อที่ไม่เข้าใจไปก่อน 5.ไม่ต้องหาหนทางแก้ไข 12.สรุปตามคะแนนเสียงส่วนมาก 6.พิจารณาคำถามให้ตรงประเด็นก่อน 13.ตีความตามหลักการจัดการ 7.ประเมินการทำงานไม่ใช่บุคคล 14.ระบุหลักฐานที่เกี่ยวข้องทุกข้อ

  23. การประเมินองค์กรหมวด 1-6 วิเคระห์จุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง

  24. แนวทางการให้คะแนน หมวด 1- 6

  25. แนวทางการให้คะแนน หมวด 1- 6(ต่อ)

  26. แนวทางการให้คะแนน หมวด 1- 6 คำถามที่ 1 จุดอ่อน จุดแข็ง 1 2 3 4 5 6 1 3

  27. การประเมิน หมวด1-6ADLI จุดอ่อน จุดแข็ง 6 5 ขั้นสมบูรณ์ 4 ขั้นดีมาก 3 ขั้นดี 2 ขั้นปานกลาง 1 ขั้นเริ่มต้น ไม่มีระบบ

  28. ตัว อย่าง การจัดทำรายงานการประเมินองค์กร ด้วยตนเอง ( SELF ASSESSMENTREPORT) หมวด 1-6

  29. ตัว อย่าง การจัดทำรายงานการประเมินองค์กร ด้วยตนเอง ( SELF ASSESSMENTREPORT) หมวด 1-6

  30. การประเมินองค์กรหมวด 7 วิเคราะห์จุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง

  31. แนวทางการให้คะแนน หมวด 7

  32. แนวทางการให้คะแนน หมวด 7 (ต่อ)

  33. แนวทางการให้คะแนน หมวด 7 คำถามที่ 1 จุดอ่อน จุดแข็ง 1 2 3 4 5 6 1 ?

  34. การประเมิน หมวด 7LeTCLi จุดอ่อน จุดแข็ง 6 ขั้นดีเลิศ สมบูรณ์ 5 ขั้นดีมาก ส่วนใหญ่ 4 ขั้นดี ส่วนใหญ่ 3 ขั้นปานกลาง บางส่วน 2 ขั้นเริ่มต้น เล็กน้อย 1 ไม่มีระบบ

  35. การจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองการจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเอง ตัว อย่าง ( SELF ASSESSMENTREPORT) หมวด 7

  36. ตัว อย่าง การจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเอง ( SELF ASSESSMENTREPORT)หมวด 7

  37. แนวทางคำนวณค่าคะแนนเบื้องต้น Element คำถามย่อย Subpart คำถามหลัก Area to address ประเด็นที่พิจารณา Item หัวข้อ Category หมวด คะแนนคำถาม รวมคะแนน หารจำนวนข้อ รวมคะแนน หารจำนวน subpart คะแนนคำถาม คะแนนคำถาม รวมคะแนน หารจำนวนข้อ รวมคะแนน หารจำนวน area to address คะแนนคำถาม รวมคะแนน หารจำนวน subpart คะแนนคำถาม รวมคะแนน หารจำนวนข้อ รวมคะแนน Total Score คะแนนคำถาม คะแนนคำถาม รวมคะแนน หารจำนวน areato address รวมคะแนน หารจำนวนข้อ รวมคะแนน หารจำนวน subpart คะแนนคำถาม คะแนนคำถาม รวมคะแนน หารจำนวนข้อ คะแนนคำถาม X น้ำหนักคะแนน ตามเกณฑ์รางวัล หรือ ตามองค์กรเห็นชอบ

  38. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์จุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุงการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์จุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุง

  39. การจัดทำกราฟและการอธิบายการจัดทำกราฟและการอธิบาย

  40. กราฟการเปรียบเทียบผลการประเมิน ระดับหัวข้อ 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 Score 1.1 1.2 2.1 2.2 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2 7.1 7.2 7.3 7.4 Item

  41. การจัดลำดับของ โอกาสในการปรับบปรุง

  42. แนวทางการกำหนด Vital Few เพื่อจัดลำดับความสำคัญ • ตารางแบบ 2 ปัจจัย

  43. ตารางการจัดลำดับความสำคัญ ระดับผลกระทบ มาก น้อย  ปรับปรุงง่าย ผลกระทบมาก   ปรับปรุงง่าย ผลกระทบน้อย ง่าย ความยากง่ายของการปรับปรุง ปรับปรุงยาก ผลกระทบน้อย ยาก ปรับปรุงยาก ผลกระทบมาก

  44. ตัวอย่างการกำหนดเกณฑ์ตัวอย่างการกำหนดเกณฑ์ การประเมิน ตามสูตรแบบ 2 ปัจจัย

  45. ความยาก - ง่าย ของการปรับปรุง • ระดับการปรับปรุง เปอร์เซนต์ความพร้อมของทรัพยากร คน เงิน เวลา และ วัสดุอุปกรณ์ ) ง่าย มากกว่าหรือเท่ากับ 50 %ของแต่ละ ทรัพยากรที่ต้องการ ยาก ต่ำกว่า 50% ของแต่ละทรัพยากรที่ ต้องการ

  46. ระดับผลกระทบขององค์กรหากไม่ดำเนินการระดับผลกระทบขององค์กรหากไม่ดำเนินการ ความเสียหาย ( ด้านเวลา ) มาก ทำให้เกิดความล่าช้าของโครงการ มากกว่า 3 เดือน น้อย ทำให้เกิดความล่าช้าของโคงการน้อยกว่า 3 เดือน ความเสียหาย (ด้านการเงิน) มาก มากกว่า 5 แสนบาท น้อย ต่ำกว่า 5 แสนบาท

  47. ระดับผลกระทบขององค์กรหากไม่ดำเนินการ (ต่อ) ความเสียหาย(ด้านชื่อเสียง) มาก มีการเผยแพร่ข่าวทั้งจากภายในและต่างประเทศเป็นวงกว้าง น้อย มีการเผยแพร่ข่าวในหนังสือพิมพ์ในประเทศหลายฉบับ 2 – 3 วัน ความเสียหาย( ด้านลูกค้า ) มาก ผู้ใช้บริการลดลงมากกว่า 50 คนต่อเดือน น้อย ผู้ใช้บริการลดลงน้อยกว่า 50 คนต่อเดือน

  48. การจัดลำดับความสำคัญตามน้ำหนักของ OFI ความถี่ ของปัญหา โอกาสของความสำเร็จ ความรุนแรงของปัญหา คะแนน รวม OFI 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 OFI 1 / / / 6 OFI2 / / / 7 OFI3 / / / 10 OFI4 / / / 9

More Related