1 / 67

โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ปี พ.ศ. 2552

โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ปี พ.ศ. 2552. การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award). การชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 โดย รศ.ดร.ปาริชาติ บัวเจริญ

donat
Download Presentation

โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ปี พ.ศ. 2552

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ปี พ.ศ. 2552 การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award) การชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 โดย รศ.ดร.ปาริชาติ บัวเจริญ ที่ปรึกษาการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

  2. กรอบการนำเสนอ • ภาพรวมการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ • ทิศทาง และเป้าหมายการการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 • กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐสำหรับส่วนราชการระดับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 • เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน

  3. 1.ภาพรวมการพัฒนาคุณภาพ1.ภาพรวมการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ

  4. รางวัลด้านคุณภาพของนานาประเทศรางวัลด้านคุณภาพของนานาประเทศ Japan Canada USA Australia EU Singapore Japan USA Thailand 1951 1984 1987 1988 1991 1994 1995 1999 2001 Deming Prize Canada Award Malcolm Baldrige National Quality Award Australian Business Excellence Awards European Foundation Quality Management Singapore Quality Award Japan Quality Award MBNQA : Education and Healthcare Thailand Quality Award Quality Performance / Organizational Excellence

  5. Baldridge Criteria for Performance Excellent Framework Organizational Profile: Environment, Relationships, and Challenges 2 Strategic Planning 5 Human Resource Focus 7 Business Results 1 Leadership 6 Process Management 3 Customer& Market Focus 4 Information, Analysis, and Knowledge Management Source: http://www.quality.nist.gov/Business_Criteria.htm

  6. การจัดการเชิงกลยุทธ์ PMQA TQM Concept PMQA Framework Criteria / Score (Assessment Tool) Management Concept Strategic Planning (SWOT/Map/Card) Assessment Report (SW) Improvement Plan (Tools & Standards)

  7. Fusion Management TQA, PMQA Management Frameworks PMQA , PART (Assessment tool) BSC, SWOT, BM, KM ISO , HACCP , HA …. Quality Systems & Standards Management & Improvement Tools

  8. หลักคิด : 11 Core Values 1 5 การนำองค์การ อย่างมีวิสัยทัศน์ การมุ่งเน้นอนาคต 9 การจัดการโดยใช้ ข้อมูลจริง 2 6 ความรับผิดชอบ ต่อสังคม ความคล่องตัว 10 การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ และการสร้างคุณค่า 3 7 การให้ความสำคัญกับ พนักงานและคู่ค้า การเรียนรู้ของ องค์การและแต่ละบุคคล 4 8 11 ความเป็นเลิศ ที่มุ่งเน้นที่ลูกค้า การจัดการเพื่อ นวัตกรรม มุมมองเชิงระบบ

  9. หลักคิด : 11 Core Values 11 8 6 Systems Perspective มองเชิงระบบ Agility คล่องตัว Managing For Innovation เน้นนวัตกรรม 10 1 4 5 7 Focus on Future เน้นอนาคต Visionary Leadership นำอย่างมี วิสัยทัศน์ Customer Driven Excellence มุ่งเน้นลูกค้า Focus on Results & Creating Value เน้นผลลัพธ์ สร้างคุณค่า Org. & Personal Learning องค์กรเรียนรู้ 2 3 9 Social Responsibility รับผิดชอบ สังคม Valuing Employees & Partners ให้ความสำคัญ พนักงาน เครือข่าย Management By Fact ตัดสินด้วย ข้อเท็จจริง Strategic Leadership Execution Excellence Organizational Learning Lead the organization Manage the organization Improve the organization

  10. TQM : Framework PMQA Model P.ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1. การนำ องค์กร 7. ผลลัพธ์ การดำเนินการ 3. การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

  11. สรุปสาระสำคัญของพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล (พรฎ. หมวด 3, 5, 6, 8) มาตรา 10,11,27,47 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ (พรฎ. หมวด 2, 3) มาตรา. 6,8,9,12,13,16 การนำองค์กร (พรฎ. หมวด 2, 5, 7, 8) มาตรา 8,9,12,16,18,20,23,27,28, 43,44,46 ผลลัพธ์ การดำเนินการ (พรฎ. หมวด 3, 4, 8) มาตรา 10,20,27,28,29,31 การให้ความสำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (พรฎ. หมวด 2, 5, 6, 7) มาตรา.8,30,31,38,39,40 41,42,45 การจัดการกระบวนการ (พรฎ. หมวด 3, 5, 6, 7) มาตรา 10,20,27,28,29,31 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (พรฎ. หมวด 3, 5, 7, 8) มาตรา 11,39

  12. วงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐวงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

  13. 2. ทิศทาง และเป้าหมาย การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

  14. เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ เข้าสู่การสมัครขอรับรางวัล PMQA “ รางวัลการพัฒนาองค์การดีเด่น” 100 พัฒนาสู่ความโดดเด่นรายหมวด 80 “รางวัลมุ่งมั้นพัฒนาองค์การดีเด่น หมวด ........” Successful Level ผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ 10 9 8 7 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 6 5 4 3 2 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 1 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 หมวด 7

  15. Roadmap การพัฒนาองค์การ 2554 2552 2553 2 1 5 จังหวัด 3 4 6 เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง

  16. 3. กรอบการประเมินผลตัวชี้วัด การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสำหรับส่วนราชการระดับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

  17. การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐที่ผ่านมาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 – 2551 2551 2549 2550 • น้ำหนักร้อยละ 5 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ • วัดการดำเนินการแบบ Milestone • มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำเข้าใจเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ วิเคราะห์โอกาสและการจัดทำแผนปรับปรุงองค์การ • น้ำหนักร้อยละ 20 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ วัดผลการประเมินองค์กรในเชิงคุณภาพ • มุ่งเน้นการบูรณาการตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาองค์กรนำมาผนวกเข้ากับตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยได้มีการประเมินองค์กรตามแนวทางการบริหารจัดการแบบ “ADLI” • น้ำหนักร้อยละ 5 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดเลือก (ส่วนราชการเลือกจำนวน 114 ส่วนราชการ ประกอบด้วย 37 กรม 37 จังหวัด และ 40 มหาวิทยาลัย) • วัดการดำเนินการแบบ Milestone • มุ่งเน้นการเรียนรู้และทำเข้าใจเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

  18. การกำหนดตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2552 • น้ำหนักร้อยละ 20 • กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ • วัดความสำเร็จของการดำเนินการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ • มุ่งเน้นให้จังหวัดปรับปรุงองค์กร ส่งเสริมให้แต่ละจังหวัดมีความเข้าใจและนำเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสมมาใช้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง • เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน เป็นกรอบการประเมินความสำเร็จของแผนพัฒนาองค์การ ซึ่งถือเป็นกรอบแนวทางในการประเมินองค์กรเบื้องต้น และเป็นแนวทาง “การเปลี่ยนแปลงทีละขั้น”

  19. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แนวทางการนำเสนอ เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด การส่งมอบงาน

  20. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 วิธีการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แนวทางที่ 1เป็นการดำเนินการตามแนวทางของกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ซึ่งเป็นภาคบังคับที่ทุกจังหวัดจะต้องดำเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการให้ได้มาตรฐาน แนวทางที่ 2เป็นการสมัครขอรับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยมีหลักเกณฑ์และกลไกที่แตกต่างจากกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

  21. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัด 1. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐให้ครอบคลุมส่วนราชการ 1.1 ส่วนราชการประจำจังหวัด ประกอบด้วย สำนักงานจังหวัด และส่วนราชการประจำจังหวัดที่เป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาคและมีหน่วยงานในระดับอำเภอด้วย ได้แก่ ที่ทำการปกครองจังหวัด สำนักงานเกษตรจังหวัด สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด สำนักงานประมงจังหวัด สำนักงานที่ดินจังหวัด สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 1.2 การดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการประจำ จังหวัดตามข้อ 1.1 ให้พิจารณาครอบคลุมถึงทุกหน่วยงานที่อยู่ในสังกัดของส่วนราชการนั้นๆ

  22. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัด 1. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐให้ครอบคลุมส่วนราชการ • กรณีสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ให้นำข้อมูลผลการดำเนินงานของโรงพยาบาลในสังกัด มาใช้ประกอบในการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดด้วย • โรงพยาบาลในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด อาจไม่จำเป็นต้องดำเนินการตามเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของตัวชี้วัดนี้ เนื่องจากโรงพยาบาลได้มีการนำระบบการรับรองคุณภาพของโรงพยาบาล (Hospital Accreditation : HA) มาใช้แล้วหรือจะนำมาใช้ต่อไป

  23. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ขอบเขตการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในระดับจังหวัด 2. หากจังหวัดมีความประสงค์จะนำส่วนราชการประจำจังหวัดอื่น ๆ นอกเหนือจากที่กำหนดไว้ในข้อ 1.1 มาดำเนินการด้วย ให้เป็นไปตามความสมัครใจ

  24. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 การประเมินผลตัวชี้วัด

  25. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การดำเนินการจัดทำแผนการพัฒนาองค์การ จำนวน 2 แผน ซึ่งแต่ละแผนแบ่งการประเมินผลเป็น 2 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้

  26. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยตรวจประเมินทุกข้อ ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน หมวด 1 และหมวด 4 ข้อที่ผ่านได้ 5 คะแนน ข้อที่ไม่ผ่านได้ 1 คะแนนยกเว้น เรื่อง GPP ให้เป็นไปตามแนวทางของ สศช. และกรมบัญชีกลาง ค่าคะแนนของแต่ละแผนพิจารณา โดยนำค่าคะแนนที่ได้ของแต่ละข้อมาคูณกับน้ำหนักความสำคัญของข้อนั้นๆ จะได้ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก แล้วรวมค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักที่ได้ของทุกหัวข้อในแต่ละแผนฯ อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 3.1 และ 3.2

  27. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ค่าคะแนนของแต่ละแผนฯ พิจารณาวัดความสำเร็จ โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในแผนพัฒนาองค์กรแต่ละแผนไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนนจะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนของทุกตัวชี้วัดในแผนฯมาเฉลี่ย อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 4

  28. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัดในหมวด 7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนน จะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนที่ได้ของทุกตัวชี้วัดในหมวด 7 มาเฉลี่ย จะได้ค่าคะแนนของตัวชี้วัดที่ 12.2 อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 3.3

  29. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12.3 แบ่งการประเมินผลเป็น 3 หัวข้อย่อย ดังนี้

  30. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ในการตอบคำถามจำนวน 15 คำถาม อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 5

  31. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของการรายงานการประเมินองค์กร ด้วยตนเองหมวด 1-4 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 6

  32. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด พิจารณาความครบถ้วนสมบูรณ์ของแผนพัฒนาองค์การแต่ละแผน อ้างอิงข้อมูลเพื่อใช้รายงานผลจากแบบฟอร์มที่ 7

  33. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด การรายงานสรุปค่าคะแนนของตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐมีแนวทางดังนี้ รายงานค่าคะแนนของตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อย รายงานค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักของตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อย โดยการนำค่าคะแนนที่ได้ของแต่ละตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อยไปคูณกับน้ำหนักของแต่ละตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อยที่กำหนดไว้ รายงานค่าคะแนนสุดท้ายของตัวชี้วัดที่ 12 โดยการรวมค่าคะแนนถ่วงน้ำหนักของทุกตัวชี้วัดย่อย/หัวข้อย่อย แบบฟอร์มที่ 8 แบบฟอร์มรายงานผลระดับคะแนนระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

  34. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 8 แบบฟอร์มรายงานผลระดับคะแนนระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด

  35. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2. การจัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของกระบวนการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ 3. ดำเนินการปรับปรุงองค์กรตามแผนพัฒนาองค์การของปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 5. การรายงานผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 6. การตรวจประเมินจากผู้ตรวจประเมินภายนอก

  36. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 5 PMQA Site-Visit 6 รายงานผลการดำเนินการ ตรวจประเมินจากผู้ตรวจประเมินภายนอก ประเมินองค์กรเทียบกับเกณฑ์ในระดับพื้นฐาน วิเคราะห์ OFI และแผนปรับปรุง ปี 51 1 4 ประเมินองค์กรตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐานเพื่อจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ปี 53 แผนหมวด 1และ แผนหมวด 4 3 ดำเนินการปรับปรุง 2 จัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของ กระบวนการและผลลัพธ์ จัดทำแผนพัฒนาองค์การ 2 แผน

  37. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 • 1. จังหวัดจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เป็นรายหมวด จำนวน 2 แผน • 2. กรอบในการจัดทำแผน วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 2554 2552 2553 2 1 5 จังหวัด 3 4 6 เน้นความสำคัญของฐานข้อมูลในการผลักดันยุทธศาสตร์ภายใต้ระบบการนำองค์กรที่มีประสิทธิภาพ โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง แผนปรับปรุงที่ได้จัดทำไว้จำนวน 2 แผนในปีงบประมาณ 2551 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน

  38. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 • สำนักงาน ก.พ.ร. จะแต่งตั้งคณะทำงานซึ่งประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิที่เชี่ยวชาญในด้านการพัฒนาองค์การ เพื่อทำหน้าที่กลั่นกรองแผนพัฒนาองค์การที่จังหวัดส่งเข้ามา และจะแจ้งผลให้ทราบภายในกลางเดือนกุมภาพันธ์ 2552 • แบบฟอร์มที่ใช้ในการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ • กำหนดการส่ง (ต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัด) วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 1 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ภายใน 30 มกราคม พ.ศ. 2552 หากจัดส่งไม่ทันในระยะเวลาที่กำหนดจะปรับลดคะแนนจากผลคะแนนรวมของตัวชี้วัดนี้0.5000 คะแนน

  39. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 1 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

  40. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ตัวอย่างการจัดทำแบบฟอร์มที่ 1 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

  41. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ตัวอย่างการจัดทำแบบฟอร์มที่ 1 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 (ต่อ) วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

  42. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ตัวอย่างการจัดทำแบบฟอร์มที่ 1 แบบฟอร์มแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 (ต่อ) วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. การวิเคราะห์และจัดทำแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552

  43. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 • จัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 • กำหนดรายละเอียดตัวชี้วัดเพื่อการประเมินผล • แบบฟอร์มที่ใช้ในการจัดทำ ตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ • กำหนดการส่ง (ต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้ว่าราชการจังหวัด) วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 2. การจัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของกระบวนการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ กำหนดน้ำหนักของแต่ละตัวชี้วัดเท่ากัน นำค่าเป้าหมายไว้ที่ค่าคะแนนระดับ 5 กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนแต่ละตัวชี้วัดตามความเหมาะสม แบบฟอร์มที่ 2แบบฟอร์มแสดงตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ภายใน 30 มกราคม พ.ศ. 2552 หากจัดส่งไม่ทันในระยะเวลาที่กำหนดจะปรับลดคะแนนจากผลคะแนนรวมของตัวชี้วัดนี้0.5000 คะแนน

  44. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 แบบฟอร์มที่ 2แบบฟอร์มแสดงตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 2. การจัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของกระบวนการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ

  45. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 ตัวอย่างการจัดทำแบบฟอร์มที่ 2แบบฟอร์มแสดงตัวชี้วัดความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 2. การจัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จของกระบวนการและผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ

  46. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 • จังหวัดดำเนินการตามแผนพัฒนาองค์การที่กำหนด เพื่อให้แผนดังกล่าวบรรลุเป้าหมายที่กำหนดทั้งในแง่ความครบถ้วนของกระบวนการและความสำเร็จของผลลัพธ์ • สำนักงาน ก.พ.ร. มีระบบสนับสนุน ดังนี้ วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 3. ดำเนินการปรับปรุงองค์กรตามแผนพัฒนาองค์การของปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 คู่มือเทคนิคการปรับปรุงและพัฒนาองค์การ เวอร์ชั่น 1.0 ชุดเครื่องมือการพัฒนาองค์การ หมวด 1-7 คลีนิคให้คำปรึกษาเชิงลึกจังหวัด โดยที่ปรึกษาในการพัฒนาองค์การที่เชี่ยวชาญในแต่ละหมวดจะไปให้คำปรึกษา ณ จังหวัด จำนวน 3 ครั้ง คลีนิคให้คำปรึกษาทุกบ่ายวันศุกร์ ที่ สำนักงาน ก.พ.ร. โดยทีมเจ้าหน้าที่สำนักงาน ก.พ.ร. ที่รับผิดชอบโครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA e-Learning เว็บไซต์ www.opdc.go.th

  47. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 • ขั้นตอนนี้จะดำเนินการประมาณเดือน กันยายน ถึง ตุลาคม 2552 ดังนี้ วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 1. การจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 2. การจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-4 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (4 หมวด) 3. การจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

  48. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 • การจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด ทบทวนลักษณะสำคัญขององค์กร (นำลักษณะสำคัญขององค์กรที่ได้จัดทำตามตัวชี้วัดฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 มาทบทวนให้สอดคล้องกับสภาพที่เปลี่ยนแปลงไป) 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 คำถามที่มีเครื่องหมาย (#) เป็นคำถามบังคับที่ส่วนราชการต้องตอบคำถาม โดยมีข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องในเรื่องนั้น ๆ จึงจะถือว่าได้ตอบคำถามในข้อนั้น ๆ แล้ว คำถามที่ ไม่มี เครื่องหมาย (#) เป็นคำถามที่ส่วนราชการต้องตอบคำถาม แต่การตอบคำถามดังกล่าวอาจจะยังไม่มีความสมบูรณ์ก็ได้ ส่วนราชการอธิบายบริบทที่สำคัญขององค์การที่เกี่ยวข้องในแต่ละคำถาม โดยใช้วิธีการพรรณาความ ใช้แผนภาพประกอบ หรือใช้ตาราง ตามความเหมาะสมในแต่ละคำถาม โดยมีจำนวนหน้าไม่เกิน 15 หน้ากระดาษ A4 แบบฟอร์มที่ 5 : แบบฟอร์มรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร

  49. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 • แบบฟอร์มที่ 5 : แบบฟอร์มรายงานผลการจัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

  50. ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ของส่วนราชการระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 จัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-4 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (4 หมวด) วิธีการและขั้นตอนการดำเนินการตามตัวชี้วัด 4. การประเมินองค์กรตามเกณฑ์ระดับพื้นฐานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 เพื่อการจัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 แบบฟอร์มที่ 3 และ 6 :แบบฟอร์มรายงานผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน

More Related