1 / 30

5.การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล

1.การนำ องค์กร. 2.การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์. ลักษณะสำคัญ ขององค์กร. 3.การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ( PMQA ) จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2552. 4.การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้. 7.ผลลัพธ์การดำเนินการ.

Download Presentation

5.การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 1.การนำ องค์กร 2.การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ลักษณะสำคัญ ขององค์กร 3.การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA) จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2552 4.การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 7.ผลลัพธ์การดำเนินการ 6.การจัดการ กระบวนการ 5.การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล www.suphanburi.go.th

  2. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 1. การนำ องค์กร 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ 7. ผลลัพธ์การ ดำเนินการ ลักษณะสำคัญ ขององค์กร 3. การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6. การจัดการ กระบวนการ 5. การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

  3. ลักษณะสำคัญขององค์กร วิสัยทัศน์จังหวัด “สุพรรณบุรี เป็นจังหวัดชั้นนำในด้านแหล่งผลิตอาหาร และผลิตภัณฑ์คุณภาพมาตรฐาน สู่สากล เป็นศูนย์กลางการศึกษา การกีฬา และการท่องเที่ยว โดยใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ชุมชนเข้มแข็ง คุณภาพชีวิตดี ยึดการมีส่วนร่วม”  เป้าประสงค์หลัก 1. การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตร อุตสาหกรรมและเกษตรอุตสาหกรรม เพื่อการ บริโภคและการส่งออกเพิ่มขึ้นปีละ ร้อยละ 5 2. เพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยว และการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้าท้องถิ่นเพิ่มขึ้นปีละ ร้อยละ5 3. อนุรักษ์ ฟื้นฟู และบูรณะทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เอื้ออำนวยประโยชน์ อย่างยั่งยืน 4. เสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีและแก้ไขปัญหาความยากจน 5. เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและยกระดับการศึกษาให้ได้มาตรฐานการศึกษาชาติ ร้อยละ 80 ทุกปี 6. ยกระดับการกีฬาของจังหวัดสุพรรณบุรี เข้าสู่มาตรฐานสากลเพิ่มขึ้นปีละ ร้อยละ 5 7. ยกระดับคุณภาพการบริการและบริหารด้วยความโปร่งใส ค่านิยม “ซื่อสัตย์ โปร่งใส มีคุณธรรม เต็มใจให้บริการ ทำงานมุ่งผลสัมฤทธิ์” วัฒนธรรมของส่วนราชการ “รักองค์กร ตรงต่อเวลา มีวินัย”

  4. ลักษณะสำคัญขององค์กร บุคลากร จังหวัดสุพรรณบุรี ประกอบด้วยส่วนราชการต่างๆ จำนวน 32 ส่วน ราชการ มีบุคลากร รวมทั้งสิ้น 4,280 คน ประกอบด้วยบุคลากรกลุ่มที่เป็น ข้าราชการ จำนวน 3,387 คน คิดเป็นร้อยละ 79.13 กลุ่มที่เป็นลูกจ้างและ กลุ่มที่เป็นพนักงานราชการ จำนวนทั้งสิ้น 893 คน คิดเป็นร้อยละ 20.87 • แนวทางและวิธีการให้บริการแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดย • จังหวัดสุพรรณบุรี มีการจำแนกกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยจำแนกออกเป็น 3 กลุ่มหลัก ได้แก่ กลุ่มที่รับบริการจากรัฐโดยตรง กลุ่มที่บังคับใช้ตามข้อกฎหมาย กลุ่มที่ต้องประสานงาน • การกำกับดูแลตนเองที่ดี โดยจังหวัดฯ มีการดำเนินงาน ดังนี้ • 1. มอบอำนาจให้กับหัวหน้าส่วนราชการทุกส่วนราชการ ตามระเบียบสำนัก • นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการมอบอำนาจ พ.ศ. 2546 • 2. ทุกส่วนราชการดำเนินการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และ • วิธีการบริหารกิจการบ้าน เมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และพระราชบัญญัติข้อมูล • ข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 รวมทั้งประกาศและกฎกระทรวงที่ออก • ตามพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 • 3. มอบหมายให้ทุกส่วนราชการปฏิบัติงานตามนโยบายการกำกับดูแลองค์กร • ที่ดี 4 ด้านได้แก่ ด้านนโยบายด้านรัฐ สังคมและสิ่งแวดล้อม ด้านผู้รับ • บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้านองค์กร ด้านผู้ปฏิบัติงาน

  5. ลักษณะสำคัญขององค์กร ข้อกำหนดที่สำคัญในการปฏิบัติงานร่วมกัน - การยึดมั่นในการปฏิบัติราชการตามค่านิยมของจังหวัดอย่างเคร่งครัด - การมีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทางการทำงานของจังหวัด ได้แก่ การกำหนด วิสัยทัศน์ ค่านิยม เป้าประสงค์ และกลยุทธ์ในการปฏิบัติราชการร่วมกัน - การทำข้อตกลงในคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปี แต่ละระดับ - การให้บริการที่สร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยเน้น “ความถูกต้อง รวดเร็ว โปร่งใส มีจริยธรรม” - การสนับสนุนการปฏิบัติงานร่วมกันแบบบูรณาการและการปฏิบัติตามนโยบาย ที่กำหนดร่วมกัน แนวทางและวิธีการสื่อสาร - ประชุมสัมมนาหัวหน้าส่วนราชการ ทั้งในระดับจังหวัด อำเภอ - ประชุม Morning Brief หัวหน้าส่วนราชการ - ประชุมชี้แจงและถ่ายทอดตัวชี้วัดต่างๆให้กับบุคลากรทุกระดับของจังหวัด - ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ ได้แก่ วิทยุกระจายเสียง ป้ายประชาสัมพันธ์ - หนังสือราชการประเภทต่างๆ เช่น คำสั่ง หนังสือเชิญประชุม หนังสือราชการ - เครื่องมือสื่อสารอื่นๆ เช่น Fax SMS IntranetInternet และวิทยุสื่อสาร (ระบบ VHF และ UHF)

  6. ความท้าทายต่อองค์กร ก. สภาพการแข่งขัน จังหวัดสุพรรณบุรี กำหนดแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดการแข่งขันร่วมกันตามประเด็นยุทธศาสตร์และคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดยคัดเลือกคู่แข่งภายในประเทศที่เป็นส่วนราชการระดับจังหวัดเช่นเดียวกัน ได้แก่ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดกาญจนบุรี โดยกำหนดประเด็นที่จะแข่งขัน ความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนการเพิ่มมูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนและท้องถิ่น ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ • ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการตามพันธกิจ ได้แก่ ผลสำเร็จของดำเนินงานตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการ • ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการในด้านปฏิบัติการ ได้แก่ ผลสำเร็จในการให้บริการแก่ผู้รับบริการ และผู้ส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม • ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการในด้านทรัพยากรบุคคล ได้แก่ ผลสำเร็จในการเพิ่มสมรรถนะให้แก่บุคลากรของส่วนราชการตามแผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ จังหวัดสุพรรณบุรี มีแนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพของส่วนราชการ ดังนี้ • ประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกส่วนราชการ • ประเมินความพึงพอใจต่อการนำองค์กรของผู้ว่าราชการจังหวัดและหัวหน้าส่วนราชการ • ประจำจังหวัด • ปรับปรุงระบบข้อมูลต่างๆ ให้เป็นปัจจุบัน ถูกต้อง และสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่อง • เพิ่มประสิทธิภาพให้แก่บุคลากรทุกระดับในการทำงานอย่างมีส่วนร่วม • ให้ทุกส่วนราชการดำเนินงานตามนโยบายการกำกับดูแลองค์กรที่ดี

  7. การประเมินองค์กรตาม เกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ.2552

  8. ผลการประเมิน...องค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2552

  9. ระดับคะแนนผลการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2552 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักเพื่อนำไปปฏิบัติ 3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย3.2 ความสัมพันธ์และความพึงพอใจของ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการ ของส่วนราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศและความรู้ 5.1 ระบบงาน 5.2 การเรียนรู้ของบุคลากรและการสร้างแรงจูงใจ 5.3 ความผาสุกและความพึงพอใจของบุคลากร 6.1 กระบวนการสร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน 7.1 มิติด้านประสิทธิผล 7.2 มิติด้านคุณภาพบริการ 7.3 มิติด้านประสิทธิภาพ 7.4 มิติด้านพัฒนาองค์การ

  10. ผลการประเมิน...จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2552

  11. 1. ลักษณะองค์กร 1ก. ลักษณะพื้นฐาน ของส่วนราชการ • 1ก(1) • พันธกิจ • งานให้บริการ • แนวทางและวิธีการ 3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6.1 กระบวนการสร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน 7.1 ประสิทธิผล 7.2 คุณภาพการให้บริการ หมวด 1 การนำองค์กร 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 7.4 ผลลัพธ์ด้านการพัฒนาองค์กร • 1ก(2) • - วิสัยทัศน์ • เป้าประสงค์ • วัฒนธรรม • ค่านิยม 1.1ก(1) การกำหนดวิสัยทัศน์เป้าประสงค์ ค่านิยม และผลดำเนินการ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์หลักเพื่อนำไปปฏิบัติ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 7.4 ผลลัพธ์ด้านการพัฒนาองค์กร • 1ก(3) • - กลุ่มและประเภทของบุคลากร • - ความต้องการและความคาดหวัง • ข้อกำหนดพิเศษด้านสุขภาพความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม 5.1ก(1) ระบบงาน โครงสร้าง 5.3กสภาพแวดล้อมในการทำงาน 5.3ข การให้การสนับสนุนและสร้าง ความพึงพอใจให้แก่บุคลากร 7.1 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผล 7.3 ผลลัพธ์ด้านประสิทธ์ภาพของการปฏิบัติ ราชการ 1ก(4) - อาคารสถานที่เทคโนโลยีและอุปกรณ์ หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 4.2 การจัดการสารสนเทศและความรู้ 1.2ขการดำเนินการอย่างมีจริยธรรม 2.1 การจัดทำกลยุทธ์ 5.3กสภาพแวดล้อมการทำงาน 7.4 ผลลัพธ์ด้านการพัฒนาองค์กร 1ก(5) กฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ - ข้อกำหนด - มาตรฐาน 1ข. ความสัมพันธ์ภายใน และภายนอกองค์กร • 1ข(6) • โครงสร้างองค์กรและการกำกับดูแล • ตนเองที่ดี • 1ข(7) • - ส่วนราชการหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องกัน • - ข้อกำหนดในการปฏิบัติงานร่วมกัน • - แนวทางการสื่อสาร 1.1ก(2) ส่งเสริมให้ปฏิบัติตามกฎระเบียบ จริยธรรม 1.1ค(7) การประเมินผู้บริหาร 2.1ก(2) กระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์ 7. ผลลัพธ์ด้านการดำเนินการ 1.1ขการกำกับดูแลตนเองที่ดี 3.2 การสร้างความสัมพันธ์ และความพึงพอใจ ของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4.1 การวัดการวิเคราะห์และผลดำเนินการ ของส่วนราชการ หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 7.1 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผล 7.2 ผลลัพธ์ด้านคุณภาพการให้บริการ 1ข(8) - กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - ความต้องการและความคาดหวังของแต่ละกลุ่ม - แนวทางการสื่อสาร 3.1กความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  12. 2. ความท้าทายต่อองค์กร 2ก. สภาพการแข่งขัน 3.1ก ความรู้เกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2ข (9) หาข้อมูลเปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4.1ก (2) การเลือกและใช้ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ • 2ก(9) • สภาพการแข่งขัน • ประเภทและจำนวนคู่แข่ง • ประเด็นการแข่งขัน • เปรียบเทียบผลการดำเนินการปัจจุบัน 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ หมวด 7 ผลลัพธ์ • 2ก(10) • ปัจจัยหลักที่ให้ประสบความ สำเร็จเมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่ง • 2ก(11) • แหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ • 2ก(12) • - ข้อจำกัดด้านข้อมูลเปรียบเทียบ 5.1ก(1) ระบบงาน โครงสร้าง 5.3กสภาพแวดล้อมในการทำงาน 5.3ข การให้การสนับสนุนและสร้างความ พึงพอใจให้แก่บุคลากร หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ หมวด 6 การจัดการกระบวนการ 2ข. ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ 1.1 การนำองค์กรโดยผู้นำระดับสูง 2.1 การจัดทำกลยุทธ์ 2.1ขวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ 4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลดำเนินการ หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล หมวด 6 การจัดการกระบวนการ หมวด 7 ผลลัพธ์ 2ข(13) - ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ - ตามพันธกิจ - ด้านปฏิบัติการ - ด้านทรัพยากรบุคคล 4.1 การวัดและวิเคราะห์ผลการดำเนินการ 2ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ • 2ค(14) • แนวทางและวิธีการปรับปรุงประสิทธิภาพ • 2ค(15)- การเรียนรู้ขององค์กร หมวด 6 การจัดการกระบวนการ หมวด 7 ผลลัพธ์

  13. หมวด 1 การนำองค์กร ผู้ว่าราชการ/หัวหน้าส่วนราชการร่วมกำหนดทิศทางของจังหวัด โดยกำหนดวิสัยทัศน์ ความคาดหวังในอนาคตที่องค์การ การกำหนดค่านิยม เป็นกรอบแนว ทางในการปฏิบัติของจังหวัด และสื่อสาร เช่น การจัดประชุมสัมมนา การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ จังหวัดใช้แบบสอบถาม วิสัยทัศน์ เป้า ประสงค์ ค่านิยม ผลการดำเนิน การที่คาดหวัง LD1 กำหนดทิศทางองค์กร สื่อสารเพื่อถ่ายทอดไปสู่ปฏิบัติ ผู้ว่าราชการจังหวัด ได้มอบอำนาจ ตาม พรบ.ระเบียบ บริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการมอบอำนาจ พ.ศ. 2550 แก่หัวหน้าส่วนราชการ เช่น ด้านการบริหารงานบุคคล การบริหารงบประมาณ เพื่อความคล่องตัวของหน่วยงานและแก้ไขปัญหาให้ กับประชาชนและผู้รับบริการ จังหวัดมีการสอบถามปัญหาการดำเนิน งานในการมอบหมาย ทบทวนร่วมกันรายงานปัญหาข้อเสนอแนะต่อผู้ว่าฯ สร้างบรรยากาศ จังหวัดจัดการเรียนรู้ เช่น กิจกรรม moring brief การศึกษาดูงานฯ กิจกรรมอบรมให้ความรู้ฯโดยเชิญวิทยากรกิตติมศักดิ์ และสรุปผลและทบทวนการดำเนินงานร่วมกัน LD2 Empowerment LD3 การเรียนรู้ ความร่วมมือ สร้างแรงจูงใจ จังหวัดส่งเสริมให้มีกระบวนการและกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการบูรณาการและสร้างความผูกพัน ร่วมมือ จังหวัดแต่งตั้งคณะทำงาน กำกับตัวชี้วัด กำหนดแผนติดตามตัวชี้วัด รายงานผลการดำเนินการในแต่ละคณะทำงาน รายงานเสนอต่อผู้บริหาร LD4 จังหวัดทบทวนผลการดำเนินงานทุกปี และนำมาจัดทำแผน กำหนดแนวทาง กรอบระยะเวลา ซึ่งจัดลำดับความสำคัญการแก้ไขและปรับปรุงก่อน-หลัง ตัวชี้วัดที่สำคัญ การทบทวนผลการดำเนินการ การปรับปรุงผลการดำเนินงาน จังหวัด มีการกำหนดนโยบายในการกำกับดูแลองค์การที่ดี (Organizational Governance) เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานของจังหวัด และเพื่อให้การดำเนินการบรรลุผล จังหวัดต้องจัดทำแนวทางปฏิบัติ LD5 การกำกับดูแลตนเองที่ดี SP2 จัดทำแผนปฏิบัติราชการ PM6 ปรับปรุงกระบวนการให้ดีขึ้นและลดความสูญเสีย SP2 จัดทำแผนปฏิบัติราชการ RM10 โครงการตามนโยบายการกำกับดูแลตนเองที่ดี LD6 ระบบควบคุมภายใน บริหารความเสี่ยง IT1 ระบบฐานข้อมูลผลการดำเนินงาน SP7 แผนบริหารความเสี่ยง LD7 OP(6) โครงสร้างองค์กรและการกำกับดูแลตนเองที่ดี การจัดการผลกระทบทางลบ OP(5) กฎระเบียบข้อบังคับ

  14. หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ปัจจัยภายใน ภายนอก OP1,2 วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ค่านิยม ผลการดำเนินการที่คาดหวัง OP5,6 กฎ ระเบียบ โครงสร้าง OP8 ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย LD1 ทิศทางองค์กร LD4 ผลการดำเนินการ LD5 การกำกับดูแลตนเองที่ดี LD6 ความเสี่ยง LD7 ผลกระทบทางลบ การวางแผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติราชการ (4 ปี, 1 ปี) SP1 กำหนดขั้นตอน กิจกรรม กรอบเวลา ผู้รับผิดชอบ SP2 นำปัจจัยที่สำคัญมาใช้ประกอบ • SP3 • แผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล • แผนทรัพยากร SP6 HR3 พัฒนาบุคลากร จัดทำรายละเอียดโครงการ (ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ ทรัพยากร) OP3 บุคลากร OP4 เทคโนโลยี อุปกรณ์ SP4 OP3 บุคลากร สื่อสารสร้างความเข้าใจ LD1 สื่อสารเพื่อถ่ายทอดทิศทาง SP5 LD4 ตัวชี้วัดที่สำคัญ ถ่ายทอดเป้าหมาย ตัวชี้วัดระดับองค์การสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล IT1 ระบบฐานข้อมูลผลการดำเนินงาน หมวด 7 LD5,6 ความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล SP2 ความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ IT6 ความเสี่ยง ICT PM6 ความเสี่ยงกระบวนการ SP7 แผนบริหารความเสี่ยง RM6 ผลลัพธ์การบริหารความเสี่ยง

  15. หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS1 แบ่งกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย OP8 กลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย CS2 ช่องทางการรับฟังและเรียนรู้ความต้องการ SP2 จัดทำแผนปฏิบัติราชการ PM2 ข้อกำหนดที่สำคัญ CS3 ระบบการจัดการข้อร้องเรียน CS4 นำข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะมาปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ PM6 ปรับปรุงกระบวนการ CS5 การสร้างความสัมพันธ์ กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย PM5 กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน CS6 การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม CS9 กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน RM2 ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ CS7 วัดความพึงพอใจ CS8 วัดความไม่พึงพอใจ PM6 ปรับปรุงกระบวนการ CS10 ติดตามคุณภาพบริการ

  16. หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ LD4 ตัวชี้วัดที่สำคัญ SP5 ตัวชี้วัด เป้าหมาย SP6 รายละเอียดโครงการ ฐานข้อมูล IT1 ฐานข้อมูลผลการดำเนินการ PM1 กระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน RM8.1 ความครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัยของฐานข้อมูล IT2,3 ฐานข้อมูลสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการ RM8.2 ข้อมูลสถิติสำคัญของหน่วยงานที่นำเข้าระบบ statXchange IT6 ระบบบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ LD4 ระบบติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ CS5 การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย IT4 IT5 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อประชาชนเข้าถึงได้ ระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย CS6 การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม IT7 การจัดการความรู้ RM6 การบริหารความเสี่ยง SP7 แผนบริหารความเสี่ยง PM4 ระบบรองรับภาวะฉุกเฉิน RM9 การจัดการความรู้ OP15 การเรียนรู้ขององค์กร LD3 บรรยากาศการเรียนรู้ HR3 การพัฒนาขีดสมรรถนะบุคลากร

  17. หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล HR1 กำหนดปัจจัยที่มีผลต่อความผาสุก ความพึงพอใจ ของบุคลากร OP3 บุคลากร HR2 ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร SP5 การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายองค์การสู่ระดับบุคคล PM5 มาตรฐานการปฏิบัติงาน HR3 ดำเนินการตามแผนกลยุทธ์ การบริหารทรัพยากรบุคคล RM7 การพัฒนาบุคลากร HR4 ระบบประกันคุณภาพการฝึกอบรม ความคุ้มค่าของการพัฒนาและฝึกอบรม SP3 แผนกลยุทธ์ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล HR5 การสร้างความก้าวหน้า ให้บุคลากร

  18. หมวด 6 การจัดการกระบวนการ OP1,2 วิสัยทัศน์ พันธกิจ SP1 แผนยุทธศาสตร์ OP8 ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย PM1 กำหนดกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า ตัวชี้วัดของกระบวนการ PM2 ข้อกำหนดที่สำคัญ ความต้องการผู้รับบริการ (หมวด 3) OP5 กฎหมาย กฎ ระเบียบ ประสิทธิภาพของกระบวนการ PM3 ออกแบบกระบวนการ ความคุ้มค่าและการลดต้นทุน องค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ขั้นตอนระยะเวลาการปฏิบัติงาน PM4 ระบบรองรับภาวะฉุกเฉินและผลกระทบ การควบคุมค่าใช้จ่าย ปัจจัยประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล PM5 มาตรฐานการปฏิบัติงาน HR3 พัฒนาบุคลากร RM3,4 การดำเนินการตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน PM6 ปรับปรุงกระบวนการ OP14 แนวทางและวิธีการปรับปรุงประสิทธิภาพ

  19. 7.1 7.2 7.3 7.4 มิติด้านประสิทธิผล มิติด้านคุณภาพการให้บริการ มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ มิติด้านการพัฒนาองค์กร RM1 ตัวชี้วัดแผนปฏิบัติการ การนำยุทธศาตร์ไปปฏิบัติ SP4, SP5, SP6 หมวด 7 ผลลัพธ์ RM2 ตัวชี้วัดความพึงพอใจของผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย RM3,4 ตัวชี้วัดการดำเนิน การตามมาตรฐานเวลา RM5 ตัวชี้วัดการเบิกจ่ายงบประมาณ CS 7,8 การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ RM6ตัวชี้วัดการบริหาร ความเสี่ยง RM7 ตัวชี้วัดการพัฒนาบุคลากร RM8 ตัวชี้วัดฐานข้อมูล RM9 ตัวชี้วัดการจัดการความรู้ RM10 ตัวชี้วัดนโยบายกำกับ ดูแลองค์การที่ดี CS7,8 การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ PM3 การออกแบบกระบวนงาน PM5 การกำหนดมาตรฐานการ ปฏิบัติงาน SP7 การทำแผนบริหารความเสี่ยง HR2.3 การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร และการจัดทำแผนบริหารทรัพยากรบุคคล IT1,2,3,4,5 ระบบฐานข้อมูล IT7 การจัดการความรู้ LD5 การดำเนินโครงการกำกับดูแลตนเองที่ดี

  20. ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนการพัฒนาองค์การ จังหวัดสุพรรณบุรี จัดทำแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2552 เป็นรายหมวด โดยนำโอกาสในการปรับปรุงองค์การจากการประเมินตนเอง ปีงบประมาณ พ.ศ.2551 และเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับ พื้นฐานมาเป็นกรอบในการจัดทำแผนพัฒนาองค์การ จำนวน 2 แผน ได้แก่ แผนหมวด 1 การนำองค์การ และแผนหมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และ การจัดการความรู้ โดยจัดทำตัวชี้วัดผลลัพธ์ของแผนพัฒนาองค์การ หมวด 1จำนวน 6 ตัวชี้วัดหมวด 4จำนวน 4 ตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของผลลัพธ์การดำเนินการของจังหวัดตามเกณฑ์ฯ (หมวด 7) วัดความสำเร็จของการดำเนินงาน โดยนำผลการดำเนินงานของแต่ละตัวชี้วัด ในหมวด 7 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับ พื้นฐานไปเทียบกับเกณฑ์การให้คะแนนจะได้ค่าคะแนนของแต่ละตัวชี้วัด และนำค่าคะแนนที่ได้ของทุกตัวชี้วัดในหมวด 7 มาเฉลี่ย

  21. หมวด 7ผลลัพธ์การดำเนินการ

  22. ระดับความสำเร็จเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของการจัดทำแผนพัฒนาองค์การปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 แบ่งการประเมินผลเป็น 3 หัวข้อย่อย ดังนี้ 1. ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์กร จังหวัดอธิบายบริบทที่สำคัญขององค์การสภาพแวดล้อมด้านการปฏิบัติการ ความสัมพันธ์ที่สำคัญภายในและภายนอก และความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์ แนวทางในการปรับปรุงผลการดำเนินการ 2. ความครบถ้วนของการจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-4 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน การจัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเองหมวด 1-4 ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน 3. ความครบถ้วนของแผนพัฒนาองค์การประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553* (2 แผน หมวด 2 หมวด3) โดยกำหนดตัวชี้วัด ดังนี้ หมวด 2 1.ร้อยละของแผนงาน/โครงการที่มีตัวชี้วัดและเป้าหมายสอดคล้องตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ของจังหวัด 2. ร้อยละตัวชี้วัดระดับบุคคลที่สอดคล้องตามเป้าหมายจังหวัด หมวด 3 1. ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ 2. ร้อยละความพึงพอใจไม่พึงพอใจของผู้รับบริการ 23

  23. แผนปรับปรุงองค์กร ปี2553 • แผนการพัฒนาแผนงาน/โครงการเพื่อความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์จังหวัดสุพรรณบุรี • 1.ร้อยละของแผนงาน/โครงการที่มีตัวชี้วัดและเป้าหมายสอดคล้องตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ • ของจังหวัด • 2. ร้อยละตัวชี้วัดระดับบุคคลที่สอดคล้องตามเป้าหมายจังหวัด • 2. แผนการพัฒนาการให้บริการแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย • 1. ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ • 2. ร้อยละความพึงพอใจไม่พึงพอใจของผู้รับบริการ

  24. ผลการดำเนินงาน ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน จังหวัดสุพรรณบุรี ปี 2552 หมวด 1 และ หมวด 4

  25. หมวด 1 การนำองค์กร LD1 • วิสัยทัศน์ • เป้าประสงค์ • ค่านิยม • ผลการดำเนินการที่คาดหวัง OP(1) พันธกิจ OP(8) ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กำหนดทิศทางองค์กร สื่อสารเพื่อถ่ายทอดไปสู่ปฏิบัติ OP(3) บุคลากร การสร้างความสัมพัธ์ภายใน/นอก องค์การ...ผู้นำ 1.ด้านรัฐ สังคม สิ่งแวดล้อม...โครงการกำจัดขยะในส่วนราชการ 2. ด้านผู้รับบริการ...โครงการ Call center 3. ด้านองค์การ...โครงกามาตรการป้องกันและปราบปรามทุจริต 4. ด้านผู้ปฏิบัติ...โครงการมอบเหรียญของจังหวัด สร้างบรรยากาศ LD2 Empowerment RM1 ประสิทธิผล HR1 ปัจจัยความผาสุก ความพึงพอใจ LD3 การเรียนรู้ ความร่วมมือ สร้างแรงจูงใจ สนง. อุตสาหกรรม LD4 ตัวชี้วัดที่สำคัญ SP5 การถ่ายทอดตัวชี้วัด IT1 ระบบฐานข้อมูลผลการดำเนินงาน การทบทวนผลการดำเนินการ การปรับปรุงผลการดำเนินงาน SP2 จัดทำแผนปฏิบัติราชการ PM6 ปรับปรุงกระบวนการให้ดีขึ้นและลดความสูญเสีย LD5 SP2 จัดทำแผนปฏิบัติราชการ RM10 โครงการตามนโยบายการกำกับดูแลตนเองที่ดี OP(6) โครงสร้างองค์กรและการกำกับดูแลตนเองที่ดี การกำกับดูแลตนเองที่ดี LD6 ระบบควบคุมภายใน บริหารความเสี่ยง OP(5) กฎระเบียบข้อบังคับ SP7 แผนบริหารความเสี่ยง ผลกระทบที่เกี่ยวกับการอนามัยเจริญพันธุ์...สนง.สาธารณสุข LD7 การจัดการผลกระทบทางลบ

  26. LD1...กำหนดทิศทางองค์กร • แผนการพัฒนาแผนงาน/โครงการเพื่อความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์จังหวัดสุพรรณบุรี • 1.ร้อยละของแผนงาน/โครงการที่มีตัวชี้วัดและเป้าหมายสอดคล้องตามเป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ • ของจังหวัด • 2. ร้อยละตัวชี้วัดระดับบุคคลที่สอดคล้องตามเป้าหมายจังหวัด • 2. แผนการพัฒนาการให้บริการแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้เสีย • 1. ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการ • 2. ร้อยละความพึงพอใจไม่พึงพอใจของผู้รับบริการ

  27. หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ฐานข้อมูล LD4 ตัวชี้วัดที่สำคัญ SP5 ตัวชี้วัด เป้าหมาย SP6 รายละเอียดโครงการ IT1 ฐานข้อมูลผลการดำเนินการ หมวด 7 RM8.1 ความครอบคลุม ถูกต้อง ทันสมัยของฐานข้อมูล PM1 กระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน IT2,3 ฐานข้อมูลสนับสนุนการปฏิบัติงานของกระบวนการ RM8.2 ข้อมูลสถิติสำคัญของหน่วยงานที่นำเข้าระบบ statXchange IT6 ระบบบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ LD4 ระบบติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ ทุกส่วนราชการตาม ประเด็นยุทธศาสตร์มีการนำเข้าข้อมูลและใช้ข้อมูล...เน้นประเด็นที่ 1 IT4 IT5 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อประชาชนเข้าถึงได้ ระบบการติดตาม เฝ้าระวัง และเตือนภัย CS6 การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม CS5 การสร้างความสัมพันธ์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย IT7 RM6 การบริหารความเสี่ยง SP7 แผนบริหารความเสี่ยง PM4 ระบบรองรับภาวะฉุกเฉิน การจัดการความรู้ ประเด็น1.อาหารปลอดภัย...สนง.เกษตร ประเด็น2. สารหนู...สนง.ทรัพฯ/สาธารณสุข ประเด็น3. บิณฑบาตสุขภาพ...สนง.สาธารณสุข OP15 การเรียนรู้ขององค์กร LD3 บรรยากาศการเรียนรู้ HR3 การพัฒนาขีดสมรรถนะบุคลากร RM9 การจัดการความรู้

  28. หมวด 7 ผลลัพธ์ 7.1 7.2 7.3 7.4 มิติด้านประสิทธิผล มิติด้านคุณภาพการให้บริการ มิติด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ มิติด้านการพัฒนาองค์กร RM1ตัวชี้วัดแผนปฏิบัติการ SP4การนำยุทธศาตร์ไปปฏิบัติ จัดทำแผนพัฒนาจังหวัด โดยใช้ข้อมูลและโอกาสในการการปรับปรุงองค์กร -กระบวนงานสร้างคุณค่า...การออกโฉนดฯ/การออกใบอนุญาตอาหาร ยา สถานพยาบาล -กระบวนงานสนับสนุน...การจัดซื้อด้วยระบบอีเล็กทรอนิค/งานข้อมูลข่าวสาร - การวางแผนและบริหารกำลังคน - แผนพัฒนาบุคลากร - แผนการบริหารทรัพยากรบุคลากรที่มีทักษะหรือสมรรถนะสูง ในสายงานหลัก - แผนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล RM2 ตัวชี้วัดความพึงพอใจของผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย RM3,4 ตัวชี้วัดการดำเนินการตามมาตรฐานเวลา RM5 ตัวชี้วัดการเบิกจ่ายงบประมาณ RM6 ตัวชี้วัดการบริหารความเสี่ยง CS 7,8 การวัดความพึงพอใจและไม่พึงพอใจ RM7 ตัวชี้วัดการพัฒนา บุคลากร RM8 ตัวชี้วัดฐานข้อมูล RM9 ตัวชี้วัดการจัดการความรู้ RM10 ตัวชี้วัดนโยบายกำกับ ดูแลองค์การที่ดี จังหวัดมีการถ่ายทอดและให้ส่วนราชการที่รับผิดชอบตัวชี้วัดจังหวัด จำนวน 32 ตัวชี้วัด ดำเนินการติดตาม และรายงานผลตามที่กำหนด PM1 กระบวนการที่สร้างคุณค่าและกระบวนการสนับสนุน LD5 การกำกับดูแลตนเองที่ดี LD7 ความรับผิดชอบต่อสังคม LD6 การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง SP7 แผนบริหารความเสี่ยง ♦ ความเสี่ยงเชิงยุทธศาสตร์ 5 ประเด็นฯ ♦ ความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล 11 โครงกาi ♦ ความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 4 เรื่อง ♦ ความเสี่ยงด้านกระบวนการ 9 กระบวนงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ HR3 การพัฒนาบุคลากร IT1,2,3,4,5 ระบบฐานข้อมูล IT7 การจัดการความรู้ LD5 การดำเนินโครงการกำกับ ดูแลตนเองที่ดี

  29. PMQA จังหวัดสุพรรณบุรี ด้วยความขอบคุณ

More Related