1 / 129

บทที่ 2

บทที่ 2 . การเขียนโปรแกรม ตอนที่ 1. เนื้อหาวันนี้. ภาษาคอมพิวเตอร์ คือ ? การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์คืออะไร , รู้จักคำศัพท์ต่าง ๆ ติดตั้งโปรแกรมและเตรียมพร้อมเครื่องก่อนเขียนโปรแกรม แนะนำภาษาจาวา และโครงสร้างของภาษา จาวา ตัวแปรและชนิดข้อมูล

latif
Download Presentation

บทที่ 2

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 2 การเขียนโปรแกรม ตอนที่ 1

  2. เนื้อหาวันนี้ • ภาษาคอมพิวเตอร์ คือ? • การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์คืออะไร ,รู้จักคำศัพท์ต่าง ๆ • ติดตั้งโปรแกรมและเตรียมพร้อมเครื่องก่อนเขียนโปรแกรม • แนะนำภาษาจาวา และโครงสร้างของภาษา จาวา • ตัวแปรและชนิดข้อมูล • การเขียนคำสั่งโปรแกรมแบบเรียงลำดับ(Sequence) (กำหนดค่า คำนวณ และแสดงผลข้อมูล)

  3. ภาษาคอมพิวเตอร์

  4. ภาษาคอมพิวเตอร์ • คอมพิวเตอร์จะสามารถทำงานได้จะต้องมีการเขียนโปรแกรมหรือซอร์ฟแวร์ เพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน โปรแกรมต่าง ๆ ที่เขียนขึ้นมานั้น จะต้องเขียนไปตามกฎเกณฑ์ของภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์

  5. ภาษาคอมพิวเตอร์ • สามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ยุคคือ 1. ภาษาเครื่อง (Machinelanguage) 2. ภาษาแอสเซมบลี (Assemblylanguage) 3. ภาษาชั้นสูง (High-levellanguage)หรือ ภาษารุ่นที่ 3 (3GL:Third Generation Language) 4. ภาษาชั้นสูงมาก(Veryhigh-levellanguage) หรือภาษารุ่นที่ 4 (4GL) 5. ภาษาธรรมชาติ (Naturallanguage) หรือภาษารุ่นที่ 5(5GL)

  6. 1. ภาษาเครื่อง(Machinelanguage) • เป็นภาษาพื้นฐานที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ แต่ละคำสั่งประกอบขึ้นจากกลุ่มตัวเลข 0 และ 1 ซึ่งเป็นเลขฐานสอง • ภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์รู้จัก • ใช้เลข 0,1 • ต้องสั่งงานอย่างละเอียด

  7. 2. ภาษาแอสเซมบลี (Assemblylanguage) • เป็นภาษาที่ใช้สัญลักษณ์ข้อความ แทนกลุ่มของตัวเลขฐานสอง เพื่อให้ง่ายต่อการเขียนและการจดจำมากขึ้น การทำงานของโปรแกรมจะต้องทำการแปลภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง โดยใช้ตัวแปลที่เรียกว่า แอสเซมเบลอร์(Assembler) • ใช้สัญลักษณ์แทนตัวเลข • ต้องสั่งงานอย่างละเอียด • ต้องแปลเป็นภาษาเครื่องก่อน เช่น ASSEMBLYLANGUAGE

  8. 3. ภาษาชั้นสูง (High-levellanguage)หรือภาษารุ่นที่ 3 (3GL:Third Generation Language) • ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้เขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น โดยมีลักษณะเหมือนกับภาษาอังกฤษทั่วไป ผู้เขียนไม่จำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับฮาร์แวร์แต่อย่างใด ภาษานี้จำเป็นต้องมีตัวแปลภาษาเครื่องเช่นกัน เรียกตัวแปลนี้ว่า คอมไพเลอร์ (compiler)หรือ อินเตอร์พรีเตอร์(Interpreter) อย่างใดอย่างหนึ่ง • ตัวอย่างของภาษาชั้นสูง เช่น ภาษาปาสคาล ภาษาซี ภาษโคบอล ภาษเบสิก ภาษาฟอร์แทรน • ใช้สมการ/ประโยคง่ายๆ • ไม่ต้องระบุรายละเอียดการทำงาน • ต้องแปลเป็นภาษาเครื่องก่อน • ต้องรู้ขั้นตอนในการสั่งงาน

  9. 4. ภาษาชั้นสูงมาก (Veryhigh-levellanguage) หรือภาษารุ่นที่ 4(4GL) • เป็นภาษาที่มีลักษณะคล้ายภาษาพูดตามปกติของมนุษย์ ภาษานี้จะช่วยให้การเขียนโปรแกรมเร็วมากขึ้นกว่าภาษาในรุ่นที่ 3 เนื่องจากมีเครื่องมือที่ช่วยในการสร้างแบบฟอร์มหน้าจอ เพื่อจัดการกับข้อมูลรวมไปถึงการออกรายงาน เมนูต่าง ๆ • ตัวอย่างของภาษาชั้นสูงมากได้แก่ informix-4GL, MAGIC , Delphi , Power Builderฯลฯ

  10. 5. ภาษาธรรมชาติ (Naturallanguage)หรือภาษารุ่นที่ 5(5GL) • เป็นภาษาที่สามารถสั่งงานคอมพิวเตอร์โดยใช้รูปแบบของภาษามนุษย์ได้เลย คำสั่งอยู่ในรูปแบบที่ไม่แน่นอนตายตัว แต่คอมพิวเตอร์จะทำการแปลให้ออกมาในรูปที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ภาษานี้ถูกสร้างขึ้นมาจากเทคโนโลยีทางด้านระบบผู้เชียวชาญ (Expert system) • ตัวอย่างภาษาในรุ่นที่ 5 ได้แก่ ภาษา PROLOG เป็นต้น

  11. ภาษาระดับสูง (High-level Languages)

  12. ภาษาสำคัญที่ใช้มาก • FORTRAN ภาษาเก่าแก่ที่สุดเหมาะสำหรับงานวิทยาศาสตร์/วิศวกรรม • COBOL เหมาะสำหรับงานธุรกิจ • PASCAL เป็นภาษาที่มีโครงสร้างดี เหมาะสำหรับใช้สอน • C ภาษาที่กำลังได้รับความนิยมสามารถสั่งการให้ควบคุมฮาร์ดแวร์ ได้ง่าย • C++ • JAVA Department of Computer Science 310322 C Programming

  13. การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์คืออะไร ,รู้จักคำศัพท์ต่าง ๆ

  14. การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ? • การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer programming) หรือเรียกให้สั้นลงว่า การเขียนโปรแกรม (Programming) หรือ การเขียนโค้ด (coding) • เป็นขั้นตอนการเขียน ทดสอบ และดูแล source code ของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่ง source code นั้นจะเขียนด้วยภาษาโปรแกรม

  15. การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ • การเขียนโปรแกรมจะได้มาซึ่ง source code ของโปรแกรมนั้นๆ โดยปกติแล้วจะอยู่ในรูปแบบของ plain text ซึ่งไม่สามารถนำไปใช้งานได้ จะต้องผ่านการคอมไพล์ตัว source code นั้นให้เป็นภาษาเครื่อง (Machine Language) เสียก่อนจึงจะได้เป็นโปรแกรมที่พร้อมใช้งาน

  16. source code

  17. source code • ซอร์สโค้ด (source code) หรืออาจจะเรียกว่า ซอร์ส หรือ โค้ด คือข้อความที่เป็นชุดที่ถูกเขียนขึ้น และสามารถอ่านและเข้าใจได้ ใช้สำหรับภาษาโปรแกรม ในการเขียนโปรแกรมแบบใหม่ ซอร์สโค้ดนิยมเก็บไว้ในไฟล์หลายไฟล์แยกจากกัน เพื่อให้ง่ายในการเรียกใช้ส่วนย่อยของคำสั่งนั้น • ถึง แม้ว่าซอร์สโค้ดถูกเขียนขึ้นในลักษณะที่ให้อ่านและแก้ไขได้ง่าย ซอร์สโค้ดจะถูกเปลี่ยนเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ในการประมวลผลสำหรับคอมพิวเตอร์โดยคอมไพเลอร์สำหรับโปรแกรมนั้น หรือ คำนวณในทันทีโดยใช้อินเตอร์พรีเตอร์เข้ามาช่วย

  18. สร้าง/แก้ไข Source file.java Compile ด้วย javac.exe ได้ไฟล์ .class ผ่าน ไม่ผ่าน กลับไปแก้ไข Run โปรแกรม(ด้วย java.exe

  19. ภาษาเครื่อง (Machine Language)

  20. ตัวแปลภาษา (Language Translator): Interpreter • เป็นตัวแปลภาษาประเภทที่มีขั้นตอนการทำงานเพียงขั้นตอนเดียว (One Step Process) กล่าวคือ ในการแปลความหมายเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานนั้น ตัวแปลภาษาประเภทนี้จะทำการแปลคำสั่งทำงานไปที่ละคำสั่ง แล้วก็จะทำงานทันทีถ้าคำสั่งนั้นถูกต้อง เช่น ภาษา HTML

  21. ตัวแปลภาษา (Language Translator): Compiler • ตัวแปลภาษาที่มีขั้นตอนในการทำงาน 2 ขั้นตอน (Two Step Process) คือ ขั้นตอนการแปลภาษาเพื่อสร้าง Executable Code และ ขั้นตอนการรันโปรแกรมจาก Executable Code (ขั้นตอนการแปลภาษา) ขั้นตอนการรันโปรแกรม

  22. ภาษาเครื่อง (Machine Language)

  23. เตรียมเครื่องให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรมด้วยจาวา

  24. สิ่งที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมสิ่งที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม • Java (j2se,j2ee,…) • Development Tool

  25. เตรียมตัวก่อนเขียนโปรแกรมเตรียมตัวก่อนเขียนโปรแกรม

  26. ตรวจสอบความพร้อมของระบบตรวจสอบความพร้อมของระบบ • ระบบปฏิบัติการ : มีได้ทั้ง Windows 98, XP, Vista, Linux, Unix, Solaris (ในที่นี้ผู้เขียนจะใช้ระบบปฏิบัติการ Windows XP เป็นหลัก) • แรม และพื้นที่ว่างในฮาร์ดดิสก์ : สำหรับแรมควรมีขนาดขั้นต่ำตามที่ระบบปฏิบัติการได้กำหนดไว้ ส่วนพื้นที่ว่างฮาร์ดดิสก์ก่อนติดตั้ง JDK และ EditPlus ไม่ควรต่ำกว่า 500 MB • ความสามารถในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต : เพื่อดาวน์โหลด JDK และ EditPlus รวมทั้งทดสอบการเขียนโปรแกรม Applet ด้วย

  27. ดาวน์โหลด และติดตั้ง JDK • สามารถติดตั้ง JDK ได้จากแผ่นซีดีได้เลย หรือจะดาวน์โหลดจากเว็บไซต์http://java.sun.com/javase/downloads/index.jsp • เมื่อดาวน์โหลดเสร็จให้ดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอนของไฟล์ที่ดาวน์โหลดไว้

  28. ดาวน์โหลด และติดตั้ง JDK (ต่อ) • อ่านข้อกำหนดแล้วคลิกปุ่ม • คลิกที่ปุ่ม

  29. ดาวน์โหลด และติดตั้ง JDK (ต่อ) • รอสักครู่ ชุดติดตั้งจะสอบถามให้ติดตั้งองค์ประกอบเพิ่มเติมคลิก • สุดท้ายก็คลิก

  30. ปรับแต่ง และทดสอบหลังติดตั้ง • เลือกStart > Programs > Accessories > Command Prompt • ที่หน้าจอ Command Prompt ให้ป้อนคำสั่งjava –version เพื่อเป็นการแสดงเวอร์ชันของ JDK ที่เราเพิ่งติดตั้งไป

  31. ปรับแต่ง และทดสอบหลังติดตั้ง (ต่อ) กำหนด PATH เพื่อเรียกใช้โปรแกรมต่างๆ ใน JDK • คลิกขวาที่ My Computer แล้วเลือก Properties • คลิกที่แท็บAdvanced แล้วคลิกปุ่ม

  32. ในกรอบ System variables คลิกเลือกตัวแปรระบบPath ในรายการ คลิกปุ่ม • พิมพ์ต่อท้ายค่าที่ปรากฏในช่อง Variable Value ด้วยข้อความ ;C:\Program Files\Java\jdk1.6.0_16\bin; แล้วคลิกปุ่ม

  33. การกำหนดค่าตัวแปร CLASSPATH • ให้คลิกปุ่ม • จะปรากฏหน้าต่าง New System Variable ขึ้นมา ให้เราตั้งชื่อตัวแปรระบบ และกำหนดค่าของตัวแปรนั้น แล้วคลิกที่ปุ่ม

  34. การกำหนดค่าตัวแปร CLASSPATH (ต่อ) • จะเห็นว่ามีตัวแปรระบบ CLASSPATH สร้างขึ้นมาใหม่ จากนั้นคลิกปุ่ม

  35. ทดสอบเขียนโปรแกรม จาวา อย่างง่าย ด้วย Notepad • เปิดโปรแกรม notepad • เขียนคำสั่งดังนี้ public class ชื่อไฟล์ { public static void main (String [] args) { System.out.println("ข้อความ") }}

  36. ตัวอย่าง

  37. ทดสอบเขียนโปรแกรม จาวา อย่างง่าย ด้วย Notepad 3. ให้ตั้งชื่อไฟล์ โดยต้องให้เหมือนชื่อไฟล์ในโปรแกรมด้วย ในตัวอย่างนี้คือ Test **ตัวอักษรเป็นตัวพิมพ์เล็กหรือพิมพ์ใหญ่ต้องเหมือนกันด้วย 4.โดยระบุนามสกุลเป็น .java 5. เลือกประเภทไฟล์เป็น all file 6 จัดเก็บไฟล์ ในตัวอย่างนี้จะ save ไฟล์ไว้ที่ C://codejava

  38. จากขั้นตอน 3-6 จะได้ดังภาพ

  39. จากขั้นตอน 3-6 จะได้ดังภาพ 7. เข้าสู่ Dos โดย Start Run พิมพ์ cmd แล้ว Enter

  40. การ compile โปรแกรมและ Run โปรแกรมผ่าน Dos 8. ให้พิมพ์ cd/ เพื่อให้ไปที่ตำแหน่ง c:// (Drive C) 9. จากนั้นไปที่ตำแหน่งไฟล์ java ที่เราเก็บไฟล์โดยพิมพ์ cd codejava

  41. การ compile โปรแกรมและ Run โปรแกรมผ่าน Dos 10 ขั้นตอนการ compile ไฟล์ คือ พิมพ์ javac ชื่อไฟล์.java กรณีพบข้อผิดพลาด ให้กลับไปแก้ไข ไฟล์แล้ว save ไฟล์ จากนั้น complie ไฟล์ อีกครั้ง กรณี compile ผ่าน(ไม่มีข้อผิดพลาด) จะได้หน้าจอดังภาพ จากนั้นก็ไปที่ขั้นตอน Run โปรแกรม

  42. การ compile โปรแกรมและ Run โปรแกรมผ่าน Dos 11 จากขั้นตอนถ้า compile ผ่านเราจะได้ไฟล์เพิ่มมา 1 ไฟล์ชื่อ ชื่อไฟล์.class ในตัวอย่างนี้คือ Test.class 12. ขั้นตอน run โปรแกรมโดยจะทำการ run ไฟล์ .class ที่ได้ โดยพิมพ์ java ชื่อไฟล์

  43. ผล run จากโปรแกรม บน Dos 13 แสดงผลจากโปรแกรมโดยในโปรแกรมนี้ให้พิมพ์ข้อความว่า Hi !There ดังภาพ

  44. Development Tool • Jbuilder • Oracle JDeveloper • Gel • BlueJ • Java Forte • EditPlus  เราจะใช้ EditPlus ฝึกเขียนโปรแกรม

  45. การเขียนโปรแกรมโดยใช้ Edit plus

  46. สำหรับเขียนโปรแกรม Java • - Borland JBuilder: ช่วยให้การเขียนโปรแกรมง่ายขึ้น เหมือนกับการเขียนโปรแกรมประเภท Visual ภาษาอื่น ๆ (แต่ไม่ฟรี) เป็นผลิตภัณฑ์ของบริษัท Borland สามารถ Download เพื่อ • ทดลองใช้งานได้ที่ www.borland.com • - Sun One Studio: เป็นผลิตภัณฑ์ของบริษัท Sun Microsystem สามารถ Download เพื่อทดลองใช้งานได้ที่ http://java.sun.com • -Editplus:มีความสามารถในการรองรับภาษาเขียนโปรแกรมได้หลายภาษา สามารถ Download เพื่อทดลองใช้งานได้ที่ www.editplus.com

  47. สำหรับเขียนโปรแกรม Java • - BlueJ : เป็นผลิตภัณฑ์ของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในเดนมาร์ก เมื่อเขียนโปรแกรม Editor ชนิดนี้จะทำการสร้าง Class Diagram ของโปรแกรมนั้น ๆ และยังเชื่อมโยงให้เห็นความสัมพันธ์กับ Class หรือโปรแกรมอื่น ๆ อีกด้วย • - NotePad:เป็น Editor ที่มีอยู่ในระบบของ Windows โดยที่คุณไม่จำเป็นต้องติดตั้งเพิ่ม แต่มีข้อเสียคือ ไม่สามารถแสดงหมายเลขบรรทัดของคำสั่ง (line of code) ได้ • - NetBeans : ทำให้ง่ายและสามารถลดเวลาในการเขียนโปรแกรม สามารถพัฒนาระบบงานได้เร็วขึ้น เหมาะสำหรับการใช้ Swing และสร้างการโต้ตอบแบบ GUI สามารถ Download โปรแกรมเพื่อติดตั้งใช้งานได้ที่ www.netbeans.org • นอกจากที่กล่าวมาแล้ว ยังมี Editor อื่น ๆ อีกที่รองรับการเขียนโปรแกรมภาษา Java

  48. ไฟล์สำคัญของจาวาที่ต้องใช้ไฟล์สำคัญของจาวาที่ต้องใช้ • จากโฟล์เดอร์ C:\Program Files\Java\jdk1.6.0_16\bin • Javac.exe สำหรับคอมไพล์จาวา • Java.exe สำหรับรันโปรแกรมจาวา • Appletviewer.exe สำหรับดู applet

  49. มารู้จักซอฟแวร์สำหรับสร้างโปรแกรมภาษามารู้จักซอฟแวร์สำหรับสร้างโปรแกรมภาษา • ซอฟต์แวร์ที่ใช้ชื่อว่า EditPlus • สามารถสร้างโปรแกรมได้หลายภาษาโดยจะมีสีแยกประเภทของคำในแต่ละภาษาให้ ทำให้สะดวกต่อการอ่านโปรแกรม • ให้ทำการสร้าง config เพื่อให้โปรแกรมเราสามารถคอมไพล์ไฟล์โปรแกรมจาวาและรันไฟล์โปรแกรมจาวาได้

  50. สร้าง config ใน EditPlus กันก่อนนะคะ • เลือก font ที่สามารถใช้ภาษาไทยได้

More Related