150 likes | 740 Views
ระเบียบ การเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551. ยกเลิก. ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.2520 ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.2525 (ฉ.2) ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.2526 (ฉ.3) ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.2531 (ฉ.4)
E N D
ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลังการเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551
ยกเลิก • ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.2520 • ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.2525 (ฉ.2) • ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.2526 (ฉ.3) • ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.2531 (ฉ.4) • ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.2536 (ฉ.5) • ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.2538 (ฉ.6) • ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง พ.ศ.2548 (ฉ.7) • ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ.2520 • ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ.2531 (ฉ.2) • ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ.2543 (ฉ.3)
ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน และการนำเงินส่งคลัง พ.ศ.2551 กรณีส่วนราชการ มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติในระเบียบนี้ แบบพิมพ์ เอกสาร ทะเบียนคุม รายงาน การเบิก รับ จ่าย รักษา นำส่ง เป็นไปตามกำหนดของ กรมบัญชีกลาง ให้ กระทรวงการคลัง เป็นผู้วินิจฉัย อนุมัติจ่ายเงินให้เจ้าหนี้/ผู้มีสิทธิ์รับเงินโดยการจ่ายตรง
การขอเบิกเงินทุกกรณี • ให้ระบุวัตถุประสงค์ที่จะนำเงินไปจ่าย • ห้ามมิให้ขอเบิกเงินจนกว่าจะถึงกำหนด • เบิกเพื่อใช้จ่ายในการใดให้ใช้การนั้น ห้ามใช้เพื่อการอื่น • ส่วนราชการ จะต้องหักภาษีใดๆ ไว้ ณ ที่จ่าย และบันทึกภาษีเป็นรายได้แผ่นดินไว้ในคำขอเบิกเงิน เว้นแต่ ได้หักภาษีไว้แล้ว
การจ่ายเงิน • จนท. ผู้จ่ายเงิน ต้องประทับตรา “จ่ายเงินแล้ว” ลงชื่อรับรองการจ่าย ระบุชื่อผู้จ่ายเงินด้วยตัวบรรจง พร้อม ว.ด.ป. ที่จ่ายกำกับ • หลักฐานการจ่ายเงิน = ใบเสร็จรับเงิน / ใบสำคัญรับเงิน / ใบรับรองการจ่ายเงิน • การจ่ายเงินได้ทั้ง เช็ค / เงินสด / ผ่านธนาคาร • กรณีจ่ายวงเงินต่ำกว่า 5,000 บาท จะจ่ายเป็นเป็นเงินสดก็ได้
การเบิกจ่ายเงินยืม • เงินยืม จ่ายได้แต่ผู้ที่ทำสัญญายืมเงิน และได้รับการอนุมัติให้ยืม • ห้ามอนุมัติให้ยืม หากผู้ยืมยังไม่ได้คืนเงินยืมเดิมให้เสร็จสิ้นไปก่อน • ผู้ยืมส่งหลักฐานการจ่าย/เงินยืมที่เหลือ ให้ จนท. บันทึกรับคืนในสัญญา พร้อม ออกใบเสร็จรับเงิน/ใบรับใบสำคัญ • ให้เก็บรักษาสัญญาที่ยังไม่คืน ไว้ในที่ปลอดภัย อย่าให้สูญหาย และเมื่อชำระคืนเงินยืมหมดแล้ว ให้เก็บรักษาเช่นเดียวกับหลักฐานการจ่าย
ใบเสร็จรับเงิน • ให้พิมพ์ หมายเลขกำกับเล่ม และเลขที่ เรียงกันไปทุกฉบับ • ให้ทำทะเบียนคุม เพื่อให้ทราบ และตรวจสอบได้ • จัดพิมพ์จำนวนเท่าใด • จ่ายใบเสร็จฯ ไปเท่าใด • ให้ จนท. ผู้ใด จัดเก็บ • ใบเสร็จฯ หมดความจำเป็น ให้ส่งคืนโดยด่วน • สิ้นปี งปม. ให้รายงาน ใบเสร็จฯ ในความรับผิดชอบ • ขึ้น งปม.ใหม่ ให้ใช้เล่มใหม่ เล่มเดิมใช้ไม่หมด ให้ปรุ/เจาะ • ถ้ามี ใบเสร็จฯ ที่ยังไม่ใช้สูญหาย • แจ้งความ • ปิดประกาศ • แจ้งเวียนทั่วประเทศ
การรับเงิน • การรับเงิน ให้ปฏิบัติตามที่ ก.การคลัง กำหนด • เงินสด เช็ค ดร๊าฟท์ ตราสารอื่น โดยวิธีอื่น • สิ้นเวลารับจ่าย ให้ จนท.จัดเก็บ นำเงิน+สำเนาใบเสร็จ ส่ง จนท.การเงินของส่วนราชการนั้น • สิ้นวัน ให้มีการตรวจสอบจำนวนเงินกับหลักฐาน และรายการบันทึกในระบบ ที่ จนท.จัดเก็บรับและนำส่ง ว่าถูกต้องครบถ้วน? การเก็บรักษา • มีลูกกุญแจ อย่างน้อย 2 สำรับ (สำรับละ2ดอก) • 1 สำรับ ให้กรรมการเก็บรักษา • 1 สำรับ ฝากในราชการบริหารส่วนกลาง • ตู้นิรภัย
การเก็บรักษา • ให้ หน.ส่วนราชการ แต่งตั้ง ขรก./พนง. ระดับ 3 ขึ้นไป อย่างน้อย 2 คน เป็นกรรมการเก็บรักษาเงิน • ให้กรรมการ ถือลูกกุญแจ คนละ 1 ดอก (ถ้าลูกกุญแจหาย/ถูกปลอมแปลง ให้รีบรายงาน หน.ส่วนราชการ ทราบเพื่อสั่งการโดยด่วน • ห้ามกรรมการ มอบลูกกุญแจ ให้ผู้อื่นทำหน้าที่แทน • สิ้นเวลารับจ่าย ให้ จนท. ทำรายงานเงินคงเหลือประจำวัน ทุกวัน • ให้ กรรมการ ตรวจสอบตัวเงิน เอกสารแทนตัวเงิน กับรายงานเงินคงเหลือประจำวัน และลงชื่อไว้เป็นหลักฐาน • จนท. นำเงินเก็บในตู้นิรภัย
การนำเงินส่งคลัง+ฝากคลังการนำเงินส่งคลัง+ฝากคลัง • ให้นำส่ง/นำฝาก ในวันที่ได้รับ หรืออย่างช้า ภายในวันทำการถัดไป • เงินรายได้แผ่นดิน ให้นำส่งอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง แต่ถ้าส่วนราชการ มีเงินเก็บรักษาเกิน 10,000.- ให้นำส่งโดยด่วน ต้องไม่เกิน 3 วันทำการถัดไป • เงินนอก งปม. ให้นำฝากคลัง อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง แต่เงินที่เบิกจากคลังเพื่อรอจ่าย ให้นำฝากคลังภายใน 15 วันนับจากวันรับเงินจากคลัง
ควบคุม + ตรวจสอบ • ทุกสิ้นวันทำการ ให้ จนท. ตรวจสอบจำนวนเงิน +เช็คคงเหลือ กับรายงานเงินคงเหลือประจำวัน • หาก เงินในความรับผิดชอบของส่วนราชการ • ขาดบัญชี สูญหาย เพราะการทุจริต / มีพฤติกรรมส่อในทางไม่สุจริต • ให้ หน.ส่วนราชการ รีบรายงาน กระทรวงเจ้าสังกัด ทราบโดยด่วน • และดำเนินการสอบสวนหาตัวผู้รับผิด