1 / 85

PHP และ การใช้งาน Appserve

อัพเดตล่าสุด : 26/07/2551. PHP และ การใช้งาน Appserve. โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม http://www.siam2dev.com. ดาวน์โหลด Appserv. ได้ที่เว็บไซต์ http :// www . appservnetwork . com /. ทดสอบการทำงานของ Appserv. เปิดโปรแกรม Internet Explorer ขึ้นมา ในช่อง Address ให้พิมพ์

august
Download Presentation

PHP และ การใช้งาน Appserve

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อัพเดตล่าสุด : 26/07/2551 PHP และการใช้งาน Appserve โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม http://www.siam2dev.com

  2. ดาวน์โหลด Appserv • ได้ที่เว็บไซต์ http://www.appservnetwork.com/

  3. ทดสอบการทำงานของ Appserv • เปิดโปรแกรม Internet Explorer ขึ้นมา • ในช่อง Address ให้พิมพ์ • http://localhost แล้วกด Enter บนคีย์บอร์ด

  4. ทดสอบการทำงานของ PHP <?php echo “Hello World!”; ?> • ให้พิมพ์คำสั่งด้วย Text Editor ใด ๆ ก็ได้ ในที่นี้ ให้ใช้ Notepad • จากนั้นพิมพ์คำสั่งข้างล่าง นี้ • แล้ว Save ตั้งชื่อ Test1.php • เก็บไว้ที่ C:\Appserv\www\Test1.php

  5. ทดสอบการทำงานของ PHP (ต่อ) • เปิดโปรแกรม Internet Explorer ขึ้นมา • ในช่อง Address ให้พิมพ์ http://localhost/test1.php แล้วกด Enter บนคีย์บอร์ด

  6. เนื้อหา • ประวัติของ PHP • PHP คืออะไร • ทำไม PHP จึงเป็นที่นิยม • โครงสร้างของ PHP • Language Reference • ข้อแตกต่างของ PHP กับ ASP

  7. ประวัติ PHP • PHP ย่อมาจาก Professional Home Page • เริ่มสร้างขึ้นในกลางปี 1994 • ผู้พัฒนาคือ นาย Rasmus Lerdorf • ปัจจุบัน PHP มีการพัฒนามาเป็นรุ่นที่ 4 • Version แรกเป็นที่รู้จักในชื่อว่า Personal Homepage Tools ในปี 1994 ถึงกลางปี1995 • Version ที่สองชื่อว่า PHP/FI ในกลางปี 1995 • Version 3 เป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า PHP3 เริ่มใช้กลางปี 1997 • ปัจจุบัน Version 4 ถ้าเป็น commercial ใช้ชื่อว่า Zend (Zend ย่อมาจาก Ze(ev) + (A)nd(I Gutmans)

  8. รายชื่อของนักพัฒนาภาษา PHP • Zeev Suraski, Israel • Andi Gutmans, Israel • Shane Caraveo, Florida USA • Stig Bakken, Norway • Andrey Zmievski, Nebraska USA • Sascha Schumann, Dortmund, Germany • Thies C. Arntzen, Hamburg, Germany • Jim Winstead, Los Angeles, USA • Rasmus Lerdorf, North Carolina, USA

  9. PHP คืออะไร • เป็นภาษา Script สำหรับแสดงเว็บเพจอย่างหนึ่ง จัดอยู่ในกลุ่ม Server Side Script เช่นเดียวกับ ASP • การทำงานจะแทรกอยู่ในเอกสาร HTML • สามารถ Compile ได้ทั้งบนระบบปฏิบัติการ UNIX, Windows NT/2000/XP, Windows 9x • ความสามารถในการทำงานสูง โดยเฉพาะกับการติดต่อกับ Database เช่น MySQL, msSQL, Sybase และ PostgreSQL เป็นต้น

  10. สิ่งที่ PHP สามารถทำได้้ • CGI • Database-enable web page • Database Adabas D InterBase Solid DBase mSQL Sybase Empress MySQL Velocis FilePro Oracle Unix dbm Informix PostgreSQL

  11. ทำไม PHP จึงเป็นที่นิยม • Open source • No cost implementation – PHP เป็นของฟรี • Server side • Crossable Platform • HTML embedded • Simple language • Efficiency • XML parsing • Server side • Database module • File I/O • Text processing • Image processing

  12. การทำงานของ PHP • ทำงานบน Server • ทำงานร่วมกับเอกสาร HTML • สามารถแทรกคำสั่ง PHP ได้ตามที่ต้องการลงในเอกสาร HTML • ทำงานในส่วนที่เป็นคำสั่งของ PHP ก่อน เมื่อมีการเรียกใช้เอกสารนั้น ๆ • แสดงผลออกทาง Web Browsers

  13. โครงสร้างภาษา PHP • แบบที่ 1 XML style <?php คำสั่งภาษา PHP ?> ตัวอย่าง <?php echo “Hello World ! <br>”; echo “I am PHP”; ?>

  14. โครงสร้างภาษา PHP (ต่อ) • แบบที่ 2 SGML style <?คำสั่งภาษา PHP ?> ตัวอย่าง <? echo “Hello World ! <br>”; echo “I am PHP”; ?>

  15. โครงสร้างภาษา PHP (ต่อ) • แบบที่ 3 Java Language style <script language=“php”> คำสั่งภาษา PHP </script> ตัวอย่าง <script language=“php”> echo “Hello World”; </script>

  16. โครงสร้างภาษา PHP (ต่อ) • แบบที่ 4 ASP Style <%คำสั่งภาษา PHP %> ตัวอย่าง <% echo “Hello World ! <br>”; echo “I am PHP”; %>

  17. โครงสร้างของภาษา PHP (ต่อ) • แบบที่เป็นที่นิยม คือ แบบที่ 1 • ผลที่ได้เมื่อผ่านการทำงานแล้วจะได้ผลดังนี้ Hello World ! I am PHP • ข้อสังเกต - รูปแบบคล้ายกับภาษา C และ Perl - ใช้เครื่องหมาย ( ; ) คั่นระหว่างคำสั่งแต่ละคำสั่ง • File ที่ได้ต้อง save เป็นนามสกุล php (หรือ php3)

  18. Language Reference • Comments - เหมือนกับการ Comment ของภาษา C, C++ และ Unix • ตัวอย่าง <?php echo “Hello !”; // การ comment แบบ 1 บรรทัด /* แบบหลายบรรทัดตั้งแต่ 2 บรรทัดขึ้นไป */ echo “World”; # การ comment แบบ shell-style ?>

  19. http://localhost/Dogspa/Test2.php ชื่อ Folder

  20. คำสั่ง echo • เป็นคำสั่งสำหรับแสดงผลลัพธ์ไปที่โปรแกรม browser • รูปแบบ echo ข้อความ1 หรือตัวแปร1, ข้อความ2 หรือตัวแปร2, ข้อความ3 หรือตัวแปร3, … • ข้อความ เขียนภายใต้เครื่องหมาย double quote (“ “) หรือ single quote (‘ ‘) • ตัวแปรของภาษา PHP จะขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย $ เสมอ คล้ายกับภาษา Perl

  21. ตัวอย่างที่ 1 Test3.php <HTML> <HEAD> <TITLE>Example –1</TITLE> </HEAD> <BODY> <?php phpinfo() ; ?> </BODY> </HTML> Test3.php

  22. การเรียกใช้งาน • เปิดโปรแกรม browser • พิมพ์ url • http://localhost/demo/intro.php C:\AppServ\www\DogSpa

  23. ตัวอย่างที่ 2(Test4.php) <HTML> <HEAD> <TITLE> Example –2</TITLE> </HEAD> <BODY> Today’s Date:<? print(Date("l F d, Y"));?> </BODY> </HTML> Today's Date: Thursday March 10, 2003

  24. การประกาศใช้ PHP • การที่ตัวแปลคำสั่ง PHP จะทราบว่าส่วนใดจะเป็นส่วนที่จะให้ทำงานในลักษณะของ PHP นั้น ก็จะต้องมีการระบุวงเล็บคำสั่งของ PHP ก่อน • วงเล็บสำหรับ PHP สามารถใช้งานได้ หลายรูปแบบคือ • <?php ?> • <? ?>เป็นการใช้วงเล็บแบบสั้น แต่อาจจะมีการซ้ำซ้อนกัน ถ้าหากต้องการใช้ XML ร่วมด้วย เพราะวงเล็บแบบนี้เป็นการใช้ของ XML เช่นกัน • <% %>เป็นรูปแบบวงเล็บของภาษา ASP ของ Microsoft • <SCRIPT LANGUAGE=”PHP”> </SCRIPT>ใช้ในลักษณะของ Script เหมือนกับ Java Script

  25. หลักการเขียนโปรแกรม php • พื้นฐานเหมือนกับภาษา C • ใช้พื้นที่ว่างได้ โดยการเว้นบรรทัดในขณะที่ยังเขียนคำสั่งต่างๆ ไม่จบประโยคสามารถทำได้ • Case-Sensitive บางกรณี คือ ตัวเล็ก-ตัวใหญ่มีความแตกต่างกันในการอ้างอิงตัวแปร แต่ถ้าเป็นการใช้คำสั่ง เช่น if ก็จะเหมือนกับ IF หรือ function อย่างเช่น empty() อาจจะเขียนเป็น Empty() ก็ได้ • ปิดคำสั่งทุกประโยคด้วย ;

  26. การเขียนให้ข้อมูลแสดงออกหน้าจอการเขียนให้ข้อมูลแสดงออกหน้าจอ ใช้คำสั่ง echo print เช่น echo “สุพัตรา กาญจโนภาส”; หรือ print “สุพัตรา กาญจโนภาส”;

  27. การเชื่อมต่อข้อความหรือตัวแปรการเชื่อมต่อข้อความหรือตัวแปร . (จุด) , (ลุกน้ำ) เช่น echo “สุพัตรา ”. “กาญจโนภาส”; หรือ echo “สุพัตรา ”, “กาญจโนภาส”; คำตอบ สุพัตรา กาญจโนภาส

  28. การ comment โน้ตไว้ดูเองจะไม่แสดงผลออกหน้าจอ - ในกรณีบรรทัดเดียว // ข้อความ เช่น //คำสั่ง echo มีไว้สำหรับการแสดงผลลัพธ์ออกหน้าจอ ในกรณีหลายบรรทัด /* คำสั่ง echo มีไว้สำหรับการแสดง ผลลัพธ์ออกหน้าจอ */ /*ข้อความบรรทัด1 ข้อความบรรทัด2 ข้อความบรรทัด3 */

  29. การขึ้นบรรทัดใหม่ “<br>” (Tag br ) เช่น echo “นัฐพงศ์<br>ส่งเนียม”; echo “นัฐพงศ์”,“<br>”.“ส่งเนียม”; Echo “นัฐพงศ์<br>”; Echo “ส่งเนียม”’ คำตอบ นัฐพงศ์ ส่งเนียม

  30. <?php // Test5.php echo "ชื่อ นัฐพงศ์ <br>" . "ส่งเนียม"; echo "<br> รหัส 497530"; ?>

  31. การกำหนดรูปแบบตัวอักษรการกำหนดรูปแบบตัวอักษร สี ขนาด <font>……..</font> (Tag font) เช่น echo “<font color=‘red’ size=20 face=‘JasmineUPC’>สุพัตรา</font>”; แบบ คำตอบ สุพัตรา

  32. <?php // Test5.php echo "<font color='red' size='30' face='AngsanaUPC'> ชื่อ นัฐพงศ์<br>" . "ส่งเนียม</font>"; echo "<br> รหัส 497530"; ?>

  33. การกำหนดรูปแบบตัวอักษรการกำหนดรูปแบบตัวอักษร ตัวหนา <b>………….</b> ตัวเอียง <i>…………..</i> ตัวขีดเส้นใต้ <u>………….</u> เช่น echo “<b><i><u>สุพัตรา</u></i></b>”; คำตอบ สุพัตรา

  34. คำสั่ง ให้นักศึกษาใช้คำสั่ง php เขียนข้อความออกมาดังต่อไปนี้ ชื่อ นามสกุล รหัสนักศึกษา สาขาวิชา ภาควิชา ที่อยู่ เบอร์โทร หมายเหตุ (กำหนดรูปแบบและสีสันตามต้องการ)

  35. <?php // Test6.php echo "ชื่อ นัฐพงศ์ นามสกุล : ส่งเนียม<br>"; echo "รหัส 407530<br>"; echo "สาขา Ph.D(IT)<br>"; echo "ที่อยู่ : กรุงเทพ<br>"; echo "มือถือ : 0896698280<br>"; ?>

  36. การตั้งชื่อตัวแปร จะต้องมีเครื่องหมาย $ (dollar sign)ขึ้นนำหน้าชื่อของตัวแปรทุกครั้ง ซึ่งถ้าเห็นเครื่องหมายนี้ แสดงว่ามีการอ้างอิงถึงตัวแปร โดยที่ชื่อของตัวแปรนั้น จะต้องนำหน้าด้วยตัวอักษร และตัวเล็กตัวใหญ่ถือว่ามีความแตกต่างกัน เช่น $name $num $address $productname

  37. การใส่ค่าให้กับตัวแปรการใส่ค่าให้กับตัวแปร ชื่อตัวแปร=“ค่าที่กำหนด” เช่น $name=“สุพัตรา กาญจโนภาส”; $num=1 หรือ $num=“1”;

  38. Test8.php <?php // Test8.php $num =20; echo "$num"; ?>

  39. <?php // Test9.php $a = 5; $b = 10; $sum = $a + $b - $b*$a; echo "$sum"; ?>

  40. การเขียนค่าตัวแปรออกหน้าจอการเขียนค่าตัวแปรออกหน้าจอ echo “ชื่อตัวแปร”; เช่น echo “$name”; echo “$num”;

  41. คำสั่ง ให้นักศึกษานำ รหัสนักศึกษา ชื่อ นามสกุล ชื่อเล่น ที่อยู่ เบอร์โทร เก็บใส่ตัวแปรดังต่อไปนี้ $code,$name,$surname,$nickname,$address,$tel จากนั้นให้นำค่าจากตัวแปรเหล่านี้แสดงออกมาบนหน้าจอ หมายเหตุ ให้กำหนดรูปแบตัวอักษรตามต้องการ

  42. ตัวแปรแบบ array ตัวแปรแบบ array เป็นตัวแปรแบบชุดที่มีค่าอยู่ภายในหลายค่า $ชื่อตัวแปร=array(“ค่า1”,“ค่า2”,“ค่า3”,………); เช่น $day=array(“อา.”,“จ.”,“อ.”,“พ.”,“พฤ.”,“ศ.”,“ส.”); $sport=array(“ฟุตบอล”,“บาสเก็ตบอล”,“วอลเลย์บอล”);

  43. Test10.php <?php // Test10.php $day =array("อา.","จ.","อ.","พ.","พฤ.","ศ."); echo "$day[2]"; ?>

  44. Test11.php <?php // Test11.php $month =array(“ม.ค.",“ก.พ.",“มี.ค.",“เม.ย.","พ.ค.",“มิ.ย."); echo "$month[2]"; ?>

  45. การเรียกใช้ตัวแปร array Index เป็น 0 Index เป็น 1 Index เป็น 2 $ชื่อตัวแปร=array(“ค่า1”,“ค่า2”,“ค่า3”,………); เรียกโดย $ชื่อตัวแปร[index]; โดยค่าตัวแรกจะมีค่า index เป็น 0 คำตัวที่ 2 จะมีค่า index เป็น 1 ตัวต่อไปก็นับต่อไปเรื่อยๆ

  46. ตัวอย่าง $day=array(“อา.”,“จ.”,“อ.”,“พ.”,“พฤ.”,“ศ.”,“ส.”); $day[0] จะมีค่าเท่ากับ อา. $day[1] จะมีค่าเท่ากับ จ. $day[2] จะมีค่าเท่ากับ อ. $day[3] จะมีค่าเท่ากับ พ. $day[4] จะมีค่าเท่ากับ พฤ. $day[5] จะมีค่าเท่ากับ ศ. $day[6] จะมีค่าเท่ากับ ส.

  47. คำสั่ง ให้นักศึกษานำ รหัสนักศึกษา ชื่อ นามสกุล ชื่อเล่น ชั้นปี สาขาวิชา ภาควิชา คณะ) ใส่ตัวแปร array ชื่อ $student จากนั้นให้นำค่าจากตัวแปรนี้แสดงออกมาบนหน้าจอดังนี้ รหัส ชื่อ นามสกุล ชื่อเล่น ชั้นปี สาขาวิชา ภาควิชา คณะ หมายเหตุ กำหนดรูปแบบตามต้องการ

  48. ตัวแปรคงที่ define(ชื่อตัวแปรไม่ต้องมี$นำหน้า,“ค่า”); เช่น define(pi, “3.1413”) แสดงบนหน้าจอ echo ชื่อตัวแปร; (ไม่ต้องใส่เครื่องหมายคำพูด) เช่น echo pi;

More Related