390 likes | 976 Views
ประสิทธิผลของโปรแกรมลดภาวะอ้วนลงพุง ในกลุ่ม Metabolic Syndrome ของกำลังพล กองทัพเรือ พื้นที่สัตหีบ จังหวัดชลบุรี. โดย น.ต .หญิง เปรมใจ สุขศิริ นักวิชาการสาธารณสุข กองเวชกรรมป้องกัน กรมแพทย์ทหารเรือ. ชาย รอบเอว 90 ซม. หญิง รอบเอว 80 ซม. ประชากร 1 พันล้านคน เป็นโรคอ้วน 300 ล้านคน. 8 ปี
E N D
ประสิทธิผลของโปรแกรมลดภาวะอ้วนลงพุงในกลุ่ม Metabolic Syndromeของกำลังพล กองทัพเรือ พื้นที่สัตหีบ จังหวัดชลบุรี โดย น.ต.หญิง เปรมใจ สุขศิริ นักวิชาการสาธารณสุข กองเวชกรรมป้องกัน กรมแพทย์ทหารเรือ
ชาย รอบเอว 90 ซม.หญิง รอบเอว 80 ซม.
ประชากร 1 พันล้านคน เป็นโรคอ้วน 300 ล้านคน 8 ปี ข้างหน้า โรคอ้วนถึง 1.5 พันล้านคน ความเป็นมาและความสำคัญปัญหา (WHO, 2007)
ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก พบว่าคนไทยมีน้ำหนักเกิน ติดอันดับ 5 ของเอเชีย (InterAsia Collaborative group, 2003) ความเป็นมาและความสำคัญปัญหา (ต่อ)
ประเทศไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข, 2549
สถานการณ์อ้วน กำลังพล ทร. ภาวะเสี่ยงอ้วนลงพุง 15.8% พ.ศ.2551 15.6% ภาวะอ้วนลงพุง กำลังพล ทร. (สัตหีบ) การเสียชีวิต ภาวะอ้วนลงพุง 34% พ.ศ.2552 21.8% กำลังพล ทร. (สัตหีบ) การเสียชีวิต กรมแพทย์ทหารเรือ, 2550-2552 ภาวะอ้วน 25% (1 ใน 4 ของกำลังพล ทร.ทั้งหมด) กำลังพล ทร. ข้อมูลสถิติ
ส่งผลกระทบต่อ อารมณ์ สังคม จิตใจ ร่างกาย ด้านเศรษฐกิจ มีการสูญเสียทางเศรษฐกิจที่สำคัญโดยคิดเป็นสัดส่วน ร้อยละ 2-6 ของงบประมาณด้านสุขภาพของประเทศ (WHO, 2007) ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา (ต่อ)
การวิจัยนี้ประยุกต์แบบแผนการส่งเสริมสุขภาพการวิจัยนี้ประยุกต์แบบแผนการส่งเสริมสุขภาพ ของเพนเดอร์ ลดอุปสรรค รับรู้ประโยชน์และความสามารถตนเอง การปฏิบัติพฤติกรรมลดอ้วนลดพุง สนับสนุนจากอิทธิพลระหว่างบุคคลที่เหมาะสม กับบริบทของกองทัพ โดยผู้บังคับบัญชามีส่วนร่วม ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา (ต่อ)
1. เพื่อเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของกำลังพล กองทัพเรือ ระหว่างก่อนและหลังได้รับโปรแกรมฯในเรื่องการรับรู้ และการปฏิบัติพฤติกรรม 2. เพื่อเปรียบเทียบผลการเปลี่ยนแปลงระดับไขมันในเลือด น้ำตาลในเลือด ความดันโลหิต รอบเอว และค่าดัชนีมวลกาย ระหว่างก่อนและหลังได้รับโปรแกรมฯ วัตถุประสงค์
1. กำลังพล กองทัพเรือในกลุ่มทดลองจะมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ และการปฏิบัติพฤติกรรมดีขึ้นกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมฯ 2. กำลังพล กองทัพเรือในกลุ่มทดลองมีระดับไขมันในเลือด น้ำตาลในเลือด ความดันโลหิต รอบเอว และค่าดัชนีมวลกาย ลดลงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมฯ 12 สัปดาห์ หลังเข้าร่วมโปรแกรม สมมติฐาน
แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ www.themegallery.com
กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรตาม ตัวแปรต้น • การรับรู้ประโยชน์ • การรับรู้อุปสรรค • การรับรู้ความสามารถตนเอง • ความมุ่งมั่น • อิทธิพลระหว่างบุคคล • การปฏิบัติพฤติกรรม โปรแกรมลดภาวะอ้วนลงพุงของกำลังพล ทร.ฯ ที่ประยุกต์ แบบแผนการส่งเสริมสุขภาพ ของเพนเดอร์ • ระดับไขมันในเลือด • น้ำตาลในเลือด • ความดันโลหิต • รอบเอว • ค่าดัชนีมวลกาย www.themegallery.com
ระเบียบวิธีวิจัย Quasi-Experimental Research Twogrouppretest-posttestdesign www.themegallery.com
ระเบียบวิธีวิจัย (ต่อ) เกณฑ์คัดเข้า • กลุ่มตัวอย่าง เป็นกำลังพล กองทัพเรือ • การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง - ใช้ Power Analysis Effect size = 0.80 (Polit & Hungler, 1999) - ได้กลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 42 คนต่อกลุ่ม ป้องกันการสูญหายเพิ่ม 20% ได้กลุ่มละ 50 คน *BMI > 25 + Criteria อย่างน้อย 1 อย่าง 1. HDL < 40 ในผู้หญิง , < 50 ในผู้ชาย 2. TG > 150 mg/dl. 3. BP > 130/85 mmHg 4. FBS > 100 mg/dl. สมัครใจเข้าร่วมโครงการวิจัยฯ (กระทรวงสาธารณสุข, 2549) เกณฑ์คัดออก ไม่เข้าร่วมตลอดงานวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัย (ต่อ) กลุ่ม เป้าหมาย 2 กลุ่ม ระยะ เวลา
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. โปรแกรมลดภาวะอ้วนลงพุง 2. คู่มือและแนวทางการลดภาวะอ้วนลงพุง 3. สมุดบันทึกพฤติกรรมการลดภาวะอ้วนลงพุง 4. สื่อวีดิทัศน์ตัวแบบในเรื่องการปฏิบัติตน กิจกรรมมีจำนวน 3 ครั้ง นาน 12 สัปดาห์
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย (ต่อ) • 2. แบบสอบถาม วัดการรับรู้ , ความมุ่งมั่น, อิทธิพลระหว่างบุคคล, การปฏิบัติพฤติกรรม • 3. การตรวจวัดระดับไขมันในเลือด น้ำตาลในเลือด ความดันโลหิต รอบเอว และค่าดัชนีมวลกาย (BMI) Pretest - Posttest สัปดาห์ที่ 1 และ 12
วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาด้วยร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน • ภายในกลุ่มทดลอง และกลุ่มเปรียบเทียบด้วยสถิติ Paired t-test และเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มเปรียบเทียบด้วย Independent t-test โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติในการทดสอบสมมติฐานที่ .05 การวิเคราะห์ข้อมูล
ครั้งที่ 1 (สัปดาห์ที่ 1) “เพิ่มประโยชน์ และลดอุปสรรคในการลดอ้วนลดพุง” สร้างความตระหนักให้เห็นประโยชน์และรู้แนวทางการจัดการสิ่งที่รับรู้ว่าเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติ โปรแกรมลดภาวะอ้วนลงพุง ได้รับคำแนะนำจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ การดำเนินการวิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูล
แพทย์แนะนำเกี่ยวกับโรค Metabolic Syndrome วิเคราะห์พฤติกรรมตนเอง
คำนวณพลังงานอาหารจากนักโภชนาการคำนวณพลังงานอาหารจากนักโภชนาการ นักโภชนาการแนะนำอาหารที่เหมาะสม ครั้งที่ 2 เพิ่มความสามารถตนในการลดอ้วนลดพุง
ฝึกประเมินอาหารแต่ละชนิดฝึกประเมินอาหารแต่ละชนิด จัดกาแฟใส่นมขาดมันเนย(อาหารว่าง)
ฝึกทักษะการออกกำลังกายโดยนักเวชศาสตร์การกีฬาฝึกทักษะการออกกำลังกายโดยนักเวชศาสตร์การกีฬา ฮูลาฮูปลดพุง www.themegallery.com
ให้คำแนะนำตามปกติจากพยาบาลแผนกตรวจสุขภาพประจำปีให้คำแนะนำตามปกติจากพยาบาลแผนกตรวจสุขภาพประจำปี • ปฏิบัติตนไปตามนโยบายกองทัพเรือ โดยมีการออกกำลังกายทุกบ่ายวันพุธ กลุ่มเปรียบเทียบ
ผลการวิจัย ร้อยละ
ผลการวิจัย รอบเอว BMI ความดันโลหิต ก่อนทดลอง หลังทดลอง
ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง เปรียบเทียบก่อนและหลังการทดลอง น้ำหนัก 84.8 kgs. รอบเอว 104 cms. น้ำหนัก 84 kgs. รอบเอว 98 cms.
สรุปผลการวิจัย • โปรแกรมลดภาวะอ้วนลงพุงของกำลังพล กองทัพเรือ พื้นที่สัตหีบ จังหวัดชลบุรีที่ประยุกต์ตามแบบแผนการส่งเสริมสุขภาพของ Pender • สามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของกำลังพล กองทัพเรือ และส่งผลให้ปัจจัยที่เกี่ยวกับ Metabolic Syndrome ลดลงจากเดิม • ดังนั้นโปรแกรมนี้ สามารถประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับกำลังพล กองทัพเรือ และกองทัพอื่นที่มีปัญหาด้านสุขภาพจากพฤติกรรมการบริโภคและขาดการออกกำลังกาย
หน่วยแพทย์ในกองทัพ สามารถนำ โปรแกรมนี้ไปใช้กับกำลังพลที่มีการปฏิบัติ พฤติกรรมไม่ถูกต้อง ควรจัดทำคู่มือการส่งเสริมการปฏิบัติตน ด้านการบริโภคอาหาร และการออกกำลังกาย ให้ผู้บังคับบัญชาระดับต้น ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะ ควรมีการติดตามผลเช่น 4 , 6 เดือน และติดตามการคงอยู่ของพฤติกรรม
ขอขอบคุณ ที่ปรึกษา แหล่งทุนวิจัย 1. พล.ร.ต.เผดิมพงศ์ รุมาคม 2. พล.ร.ต.วิเชียร นาวินพิพัฒน์ 3. น.อ.หัสกร หาญสมบูรณ์ • สมาคมแพทย์ทหารแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ประชุมใหญ่สามัญประจำปี ครั้งที่ 55 • ที่ให้โอกาสในการ • นำเสนอผลงานวิจัย 35 35