440 likes | 585 Views
E-Business การพัฒนาเว็บไซด์ สำหรับธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์. ทบทวนก่อนสอบ. ข้อสอบ Final. Choice 50 ข้อ 25 คะแนน จับคู่คำศัพท์ 20 ข้อ 10 คะแนน อัตนัยบรรยายศัพท์ และบอกส่วนของ webpage 15 คะแนน ข้อสอบออกจากเอกสารบรรยาย บทที่ 4 , 5 , 6 ไม่ออกส่วนของ lab Dream weaver.
E N D
E-Business การพัฒนาเว็บไซด์สำหรับธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ ทบทวนก่อนสอบ
ข้อสอบ Final • Choice 50 ข้อ 25 คะแนน • จับคู่คำศัพท์ 20 ข้อ 10 คะแนน • อัตนัยบรรยายศัพท์ และบอกส่วนของ webpage 15 คะแนน ข้อสอบออกจากเอกสารบรรยาย บทที่ 4 , 5 , 6 ไม่ออกส่วนของ lab Dream weaver
การพัฒนาเว็บไซด์สำหรับธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์การพัฒนาเว็บไซด์สำหรับธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ • การสร้างเว็บไซต์สำหรับธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ • ผู้ให้บริการรับฝากเว็บไซต์ (Website Hosting) • การสร้างและจัดการเนื้อความในเว็บไซต์(Content Creation and Management) • การออกแบบเว็บไซต์(Web Site Design) • การก่อสร้างเว็บไซต์(Web Site Construction) • การส่งเสริมเว็บไซต์ (Web Site Promotion)
การจำแนกประเภทของเว็บไซต์ตามFunction การทำงาน 4 ประเภท • เว็บไซต์สำหรับการแสดงข้อมูลข่าวสาร (Informational Web Site) • เว็บไซต์สำหรับการติดต่อสื่อสารแบบโต้ตอบ (Interactive Web Site) • เว็บไซต์ประเภทดึงดูดใจ (Attractors Web Site) • เว็บไซต์ประเภทรายการค้า (Transactional Web Site)
การสร้างเว็บไซต์ ขั้นดำเนินการ • เลือกรูปแบบธุรกิจ, • เขียนแผนธุรกิจ, • ดำเนินการจัดหาทุนทรัพย์มาใช้ในการดำเนินการ • เลือกประเภทของเว็บไซต์ • การดำเนินการสร้างเว็บไซต์ ตามแผนธุรกิจ
ขั้นตอนการสร้างเว็บไซต์ 6 ขั้น • เลือกผู้ให้บริการรับฝากเว็บไซต์ (Web Hosting) >มี 4 แบบ • จดทะเบียนชื่อเรียกขาน หรือชื่อโดเมนเนม (Register a domain name) > ความหมาย ที่ดีเป็นอย่างไร ใครควบคุม • สร้างและจัดการเตรียมเนื้อหาในเว็บไซต์ (Create and manage content) > Primary Secondary (Cross selling , Up Selling ….Who?.) • ออกแบบเว็บไซต์ (Design the Web site) • สร้างและทดสอบเว็บไซต์ (Construct the Website and testing) • ทำการตลาดและจัดรายการส่งเสริมการขาย (Market and promote the Web site)
การสร้างและจัดการเนื้อความในเว็บไซต์(Content Creation and Management) • เนื้อความในเว็บไซต์ (Content) เป็นได้ทั้งตัวอักษร, ข้อความ, รูปภาพ, เสียง และภาพเคลื่อนไหว (วีดีโอ) • เป็นสิ่งที่ลูกค้าผู้เยี่ยมชมจะได้สัมผัส และตีความตามเนื้อหา • แบ่งออกเป็นสองส่วนด้วยกันคือ • primary content • secondary content
การสร้างเนื้อหาสำหรับเว็บไซต์ (Content Creation and Acquisition) • เนื้อหาในเว็บไซต์นั้นจะต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเป้าหมายของธุรกิจ • เนื้อหาในเว็บไซต์จะถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนด้วยกันคือ • ส่วนแรกเป็นส่วนที่เรียกว่า primary content เป็นเนื้อหาที่ใช้สำหรับนำเสนอเพื่อทำการขายสินค้าหรือบริการให้ตรงตามเป้าหมายของธุรกิจ • ส่วนที่สองเรียกว่า secondary content เป็นเนื้อหาส่วนเสริมในเว็บไซต์ที่จะทำให้เว็บไซต์นั้นมีความน่าสนใจ และเพิ่มคุณค่าให้กับเว็บไซต์นั้นๆ
การออกแบบเว็บไซต์(Web Site Design) • การออกแบบโครงสร้างของเว็บไซต์ >กว้างไม่ลึก (มี page>>Home page, Help page, Company page, Transaction page, Content page) ...ข้อแนะนำ...... • การออกแบบเนวิเกชั่น(Navigation) ...ความหมาย..ประโยชน์ • การใช้สีและภาพกราฟิก • การเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของเว็บไซต์ • ปัจจัยสำคัญในการออกแบบเว็บไซต์ • เนวิเกชั่น (Navigation) • กฎการคลิก 3 ครั้ง,Site map, 3เท่าจอภาพ • ความสอดคล้อง(Consistency) • สมรรถนะ (Performance) • กฎ 12 วินาที 4 วินาที • รูปแบบ (Appearance) • การประกันคุณภาพ(Quality assurance) • การโต้ตอบ(Interactivity)
รูปแบบการจัดวางบนหน้าเว็บ (A WEB PAGE LAYOUT GRID) Logo • Graphic Navigation Bar Navigation Column Content Site Promotion And Advertising Search this site Text Navigation Bar Page Info สถาปัตยกรรมโครงสร้างและการจัดวางเครื่องมือของเนวิเกชั่นที่เป็นที่นิยม
แถบเนวิเกชั่นวิเกชั่นทั่วไป (A GENERIC NAVIGATION BAR) Home Product Support Community Guided Tour About Us การออกแบบเนวิเกชั่น(Navigation)
ความสอดคล้อง (Consistency) • การวางตำแหน่งและรูปแบบ • ชนิดของตัวอักษร การใช้สี • การออกแบบ เนวิเกชั่นที่ถูกใช้บนหน้าเว็บ • โลโก้ • ที่อยู่ของโฮมเพจ(URL) • ทำอย่างไรให้เว็บไซต์ปรากฏบนหน้าจอของผู้เยี่ยมชมได้เหมือนๆกัน
สมรรถนะ (Performance) • ปัจจัยความเร็วในการแสดงผล • ความเร็วโมเด็ม • ปริมาณข้อมูลที่สามารถส่งผ่าน (Bandwidth) • เนื้อหาและการออกแบบหน้าเว็บ • ปัจจัยที่มีผลต่อการดาวโหลด • เว็บเพจแบบพลวัต (Dynamic page) • แฟ้มข้อมูลเสียง รูปภาพ แอพเพล็ตภาษาจาวา (Java applet) • โครงสร้างตารางที่ซับซ้อน • การวัดเปรียบเทียบสมรรถนะ(Benchmark) • กฏ 12 วินาที หมายความ หน้าเว็บบนเว็บไซต์ควรจะแสดงบนหน้าจอภาพให้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาไม่เกิน 12 วินาที
สีและภาพกราฟิก (Colors and Graphics) • ทางด้านการเงินมีแนวโน้มที่ใช้สีที่มีลักษณะเป็นทางการ เช่น เขียว น้ำเงิน ใช้แผนภาพ • กลุ่มเป้าหมายเป็นกลุ่มสุภาพสตรี สีอ่อนหวาน สีชอร์คโค • นักเล่นเกมส์ จะเน้นสีสันที่สมจริง มีการใช้ Flash • สีมาตรฐาน สีที่ใช้ควรเป็นหนึ่งใน 216 สี • สีมาตรฐานสำหรับไฮเปอร์สิงค์ (Hyperlink) • น้ำเงิน= ยังไม่ใช้ • แดง = เมาส์เคยผ่าน • ม่วง=ใช้แล้ว)
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance) Homepage • การแก้ไขลิงค์ที่เสียหาย (Dead link) • แก้ไขภาพกราฟิก • การเพิ่มหน้าเว็บใหม่ • การปรับปรุงหน้าเว็บเก่า • การเพิ่มความสวยงามให้แก่เว็บไซต์ Web page Web page Web page Web page Web page
การก่อสร้างเว็บไซต์ (Web Site Construction) • การพัฒนาขึ้นจากส่วนภายในองค์กร ( Internal Web Site Development : In-house) • การพัฒนาขึ้นจากส่วนภายนอกองค์กร ( External Web Site Development : Outsourcing ) • การพัฒนาขึ้นจากความร่วมมือกับองค์กรอื่น ( Partnering Web Site Development ) ข้อดี ข้อเสียของแต่ละวิธีเป็นอย่างไร
การส่งเสริมเว็บไซต์ • จากภายนอก • ป้ายโฆษณา • การเป็นผู้สนับสนุน Banner ,E-mail ,Chat Rooms,Web Directories • การแลกลิงค์ • ผ่าน Search Engine • จากภายใน จดจำ กลับมาเยี่ยมชม ดึงดูดใจ • การแสดงรางวัลหรือวุฒิบัตรต่าง ๆ ที่องค์กรได้รับ • แสดงชื่อเว็บไซต์บนหีบห่อของสินค้า บนนามบัตร หัวกระดาษจดหมาย • แนบข้อความตอนท้ายของแฟ้มข้อมูล (Signature file) ด้วยชื่อเว็บไซต์
การเพิ่มประสิทธิภาพ Search Engine • ให้เว็บไซต์ถูกจัดอันดับอยู่ในช่วงต้นรายการผลการสืบค้น • คำสำคัญ และ จำนวนลิงค์ • การสร้างและจัดวางคำสำคัญ • ใช้ คำสำคัญ ที่กลุ่มเป้าหมายนิยมใช้กันแพร่หลาย • ใช้วลีที่เฉพาะเจาะจงเพิ่ม ใช้ชื่อเรื่องให้เกิดประโยชน์ • การใช้เมต้าแท็ก เป็นแท็กใน HTML ประเภทหนึ่งใช้สำหรับประกาศคำสำคัญ (Key word) บรรยายสรุปเรื่องราวที่ปรากฏบนหน้าเว็บ • หลีกเลี่ยงลักษณะที่ต่อต้านสไปเดอร์ • การใช้งานเฟรม ไดนามิกส์เว็บ แฟลซ แผนที่ภาพ และจาวาสคริปต์ • หลีกเลี่ยงการล่อหลอกเสิร์ซเอ็นจิ้น (Search engine spamming) • การใช้คำสำคัญเกินความจำเป็น • การกำหนดสีคำสำคัญให้มีสีเดียวกับฉาก • ใส่แทก ALT (จะถูกใช้ในการใส่ประโยคเพื่อบรรยายรูปภาพ )
ระบบหน้าร้าน • ลงทะเบียนกับ Search Engine เช่น Yahoo , Google , Lycos • โปรแกรมที่จำเป็น • ระบบบริหารร้าน • ระบบสร้างแคตาล็อก • ระบบรถเข็น(Shoping Card) • ระบบประมวลผลการขาย • การสั่งซื้อ • ระบบการชำระเงิน (Payment System) • เครื่อง Server ฐานข้อมูล (Database Server)
ระบบการชำระเงิน (Payment System) • บัตรเครดิต (Credit Card) 1 4 2 3
บัตรเครดิต (Credit Card) • รหัส CVV (Card Verification Value Code) เป็นรหัสต่อท้ายเลขบัตรเครดิตมีความยาวประมาณ3-4หลัก • โปรแกรมกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E Wallet)
เช็คอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Check)
3 5 1 4 2 เงินสดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Cash) • ลักษณะเป็นบัตรแถบแม่เหล็ก เช่นบัตรเดบิต • บัตรที่มีวงจรอิเล็กทรอนิกส์และหน่วยความจำขนาดเล็กบรรจุอยู่ที่เรียกกันว่าบัตรสมาร์ทคาร์ด (Smart Card) • ซอฟต์แวร์จำพวก E-wallet
สินค้า • สินค้าจับต้องได้ (Tangible Goods) • สินค้าจับต้องไม่ได้ (Intangible Goods)
ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Virus) ประเภทของไวรัสคอมพิวเตอร์ • บูตเซกเตอร์ไวรัส (Boot Sector/Boot Infector Viruses) ไวรัสที่เก็บตัวเองอยู่ในบูตเซกเตอร์ของดิสก์ • โปรแกรมไวรัส (Program/File Infector Viruses) ไวรัสที่ติดไปกับไฟล์โปรแกรม ที่มีนามสกุลเป็น com, exe, sys, dll • มาโครไวรัส (Macro Viruses) ก่อกวนโปรแกรมสำนักงานต่างๆ เช่น MS Word, Excel, PowerPoint • สคริปต์ไวรัส (Scripts Viruses) พัฒนามาจากภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น VBScript, JavaScript
ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Virus) ประเภทของไวรัสคอมพิวเตอร์ • ม้าโทรจัน (Trojan Horses) เป็นไวรัสประเภทสปาย (Spy) ที่จะคอยล้วงความลับจากเครื่องคอมพิวเตอร์ • ไวรัสประเภทกลายพันธุ์ มีความสามารถในการแพร่กระจายตัวเองได้อย่างรวดเร็ว เปลี่ยนแปลงลักษณะตัวเองไปเรื่อยๆ เพื่อหลีกเลี่ยงการตรวจจับ และแอบซ่อนอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ เช่น Worm
ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Virus) ลักษณะของไวรัสคอมพิวเตอร์ (Virus Characteristics) • ประเภทเร็ว :- เป็นไวรัสที่แพร่ขยายอย่างรวดเร็ว ไวรัสแบบนี้จะามารถตรวจสอบพบได้ง่าย และสามารถทำลายได้ง่าย • ประเภทช้า :- แฝงตัวอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ ไม่แสดงตัว ทำให้การตรวจสอบเป็นไปได้ยาก อันตรายกว่าประเภทเร็ว • ประเภทสทีลต์ไวรัส (Stealth Viruses) :- มีความสามารถในการพรางตัวต่อการตรวจจับได้ เมื่อแฝงตัวไปกับโปรแกรมใดแล้วจะทำให้ขนาดของโปรแกรมนั้นใหญ่ขึ้น แต่จะไม่สามารถตรวจดูขนาดที่แท้จริงของโปรแกรมที่เพิ่มขึ้นได้
ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Virus) ระดับการทำลายของไวรัส • Trivial Damage: แก้ไขได้เพียงแค่ลบไฟล์ที่มีไวรัสทิ้งไป เช่น ไฟล์ไวรัสที่ก่อให้เกิดเสียงดังรบกวน • Minor Damage: แก้ไขได้โดยการติดตั้งระบบใหม่ เช่น ไวรัสที่มีชื่อว่า Jerusalem ซึ่งจะทำงานทุกๆ วันศุกร์ที่ 13 โดยจะเข้าไปลบโปรแกรมต่างๆ ที่มีอยู่ในหน่วยความจำ • Moderate Damage: เข้าไปทำการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ หรือบันทึกข้อมูลอะไรบางอย่างลงในฮาร์ดดิสก์ สามารถแก้ไขได้โดยการติดตั้งข้อมูลใหม่ ซึ่งต้องมีการสำรองไว้
ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Virus) ระดับการทำลายของไวรัส • Major Damage: มุ่งโจมตีข้อมูล รวมไปถึงไฟล์ที่ทำการสำรองข้อมูลไว้ สามารถตรวจพบได้หลังจากได้รับไวรัสประเภทนี้มาแล้วประมาณ 1-2 วัน หรือ 1 อาทิตย์ • Severe Damage: ขอบเขตการทำลายข้อมูลจะขยายตัวมากขึ้น • Unlimited Damage: ขอบเขตการทำลายไม่มีที่สิ้นสุด จะทำการเปิดช่องเพื่อให้บุคคลที่สามเข้ามาภายในระบบได้
เทคโนโลยีการเข้ารหัส (Cryptography) การเข้ารหัสแบบกุญแจสมมาตร (Symmetric Key Cryptography หรือ Secret Key Cryptography)
เทคโนโลยีการเข้ารหัส (Cryptography) การรหัสแบบกุญแจอสมมาตร (Asymmetric Key Cryptography หรือ Public Key Cryptography)
ศัพท์ • “Brochureware” หรือระบบแคตตาล๊อกออนไลน์ • ผู้ให้บริการรับฝากเว็บไซต์ (Web Hosting) • บริการสร้างร้านค้าสำเร็จรูปแบบออนไลน์ (Store Builder Service หรือบางครั้งเรียกเป็น design-and-host service) • บริการพื้นที่เครื่องแม่ข่ายของผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP Hosting Service) • บริการพื้นที่ของผู้ให้บริการรับฝากเว็บไซต์โดยเฉพาะ (Web Hosting Service) • การจัดหาพื้นที่สำหรับเว็บไซต์โดยลงทุนในเครื่องแม่ข่ายเอง (Self-hosting) • ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISP) • โดเมนเนม ( domain name)
ศัพท์ • การรับประกันช่วงเวลาการให้บริการ (Uptime) • Web Hosting เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ Server ที่ให้เช่าและรับฝากเว็บไซต์ของธุรกิจต่างๆ • primary content เป็นเนื้อหาที่ใช้สำหรับนำเสนอเพื่อทำการขายสินค้าหรือบริการให้ตรงตามเป้าหมายของธุรกิจ • secondary content เป็นเนื้อหาส่วนเสริมในเว็บไซต์ที่จะทำให้เว็บไซต์นั้นมีความน่าสนใจ และเพิ่มคุณค่าให้กับเว็บไซต์นั้นๆ
ศัพท์ • การนำเสนอเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับสินค้าและบริการ (Cross selling) • การนำเสนอเนื้อหาที่สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและบริการ (Up selling) • โครงสร้างเว็บไซต์ส่วนใหญ่จะเป็นรูปแบบลำดับชั้น (Hierarchical structure) • โครงสร้างแบบวงแหวน(Circular structure) • โครงสร้างแบบเส้นตรง (Linear structure) • โฮมเพจ (Home page) เป็นหน้าแรกของเอกสารในเว็บไซต์ • เว็บเพจการช่วยเหลือ (Help pages) เป็นหน้าเว็บที่ทำหน้าที่อธิบายและช่วยเหลือผู้เยี่ยมชมในการท่องไปในเว็บไซต์อย่างทั่วถึง
ศัพท์ • การระบุตัวตน (Identification)ชื่อผู้ใช้ (Username) • การพิสูจน์ตัวตน (Authentication) • การรักษาความถูกต้องของข้อมูล (Integrity) • การเข้ารหัส (Encryption) • การป้องกันการปฏิเสธหรืออ้างความรับผิดชอบNon-Repudiation • การตรวจสอบ (Audit)
ศัพท์ • การรักษาความลับของข้อมูล (Confidentiality) • การควบคุมการเข้าถึงข้อมูล (Privacy) • การบุกรุกหรือการโจมตี (Threats or Crimes) • แฮกเกอร์ (Hacker) ผู้ที่พยายามหาวิธีการ หรือหาช่องโหว่ของระบบ • เทคโนโลยีการเข้ารหัส (Cryptography) • การเข้ารหัส (Encryption) • การถอดรหัส (Decryption
ศัพท์ การเข้ารหัสแบบกุญแจสมมาตร (Symmetric Key Cryptography หรือ Secret Key Cryptography) การรหัสแบบกุญแจอสมมาตร (Asymmetric Key Cryptography หรือ Public Key Cryptography) ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Digital Signature) องค์กรรับรองความถูกต้อง (Certification Authority) ไฟร์วอลล์ (Firewall) ป้องกันการเข้าสู่ระบบที่ไม่ได้รับอนุญาตที่มาจากภายนอกเครือข่าย
ศัพท์ • ระบบตรวจจับผู้บุกรุก (Intrusion Detection System) ระบบที่คอยตรวจจับการบุกรุกและวิเคราะห์ข้อมูลที่อยู่บนเครือข่าย • ตรวจสอบการบุกรุก (Attack Detection) • ประเมินความเสียหาย (Damage Assessment) • แก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องและกู้คืนระบบให้ทำงานได้ตามปกติ (Correction and Recovery) • HotStart: ทำการกู้คืนระบบทันทีที่ตรวจสอบพบความผิดปกติ • WarmStart: ทำการกู้คืนระบบแบบอัตโนมัติ • ColdStart: ทำการกู้คืนระบบให้เร็วที่สุด
กฎหมาย • สังคมแห่งปัญญาและการเรียนรู้ (Knowledge-based Society) • ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์” (Electronic Business) • พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์” (Electronic Commerce หรือ E-Commerce)
การพัฒนาและยกร่างกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะสั้น 6 ฉบับ • กฎหมายเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transactions Law) • กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Signatures Law) • กฎหมายการเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Funds Transfer Law) • กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Law) • กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crime Law) • กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน (กฎหมายลำดับรองของรัฐธรรมนูญ มาตรา 78) (National Information Infrastructure Law)
วัตถุประสงค์กฎหมายระยะยาววัตถุประสงค์กฎหมายระยะยาว • ทำการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ • เป็นศูนย์กลางของการศึกษาค้นคว้าและวิจัยเฉพาะทาง ด้านกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ • พัฒนาบุคลากรและผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ • เป็นแหล่งเผยแพร่ความรู้และความก้าวหน้าทางกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
กลุ่มของกฎหมาย • กลุ่มของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการทำธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์หรือกลุ่มของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ กฎหมายเกี่ยวกับ ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์, กฎหมายเกี่ยวกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ และกฎหมายเกี่ยวกับการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ • กลุ่มของกฎหมายเพื่อสังคมสารสนเทศได้แก่ กฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล, กฎหมายเกี่ยวกับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์, กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศให้ทั่วถึงและเท่าเทียมกัน
คุณธรรม ศีลธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณ คุณธรรม หมายถึง คุณงามความดีทางความประพฤติและจิตใจ ศีลธรรม หมายถึง ความประพฤติที่ดีที่ชอบ หรือธรรมในระดับศีล จริยธรรม(ethics) คือแนวทางประพฤติปฏิบัติตนเพื่อการบรรลุถึงสภาพชีวิตอันทรงคุณค่าพึงประสงค์ จรรยาบรรณ เป็นประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้น