1 / 12

ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ.สต.แบบ บูรณา การจังหวัดแพร่ประจำปีพ.ศ. 2554 - 2555

ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ.สต.แบบ บูรณา การจังหวัดแพร่ประจำปีพ.ศ. 2554 - 2555.

plato-russo
Download Presentation

ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ.สต.แบบ บูรณา การจังหวัดแพร่ประจำปีพ.ศ. 2554 - 2555

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ.สต.แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ประจำปีพ.ศ. 2554-2555

  2. “...ให้ใช้แนวทางการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการต่อยอดจากต้นทุนและประสบการณ์เดิมของ สอ. / PCU เพื่อยกระดับเป็นรพสต. โดยการปรับโครงสร้าง ทรัพยากรบุคคล เครื่องมือและระบบงานที่จำเป็น ให้เอื้อต่อการจัดบริการพื้นฐานและบริการเชิงรุกได้อย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับความต้องการ ปัญหาสุขภาพของชุมชนและบริบทในแต่ละพื้นที่ โดยเริ่มต้นจาก สอ. / PCU ที่มีความพร้อมก่อน แล้วขยายสร้างเครือข่ายบริการให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ในระยะต่อไป... ” ทิศทางการพัฒนา รพ.สต. จังหวัดแพร่

  3. ภาพฝันของ... รพ.สต. 1. ให้บริการด่านหน้าที่ประชาชนสามารถเข้าถึงและพึ่งพาได้ตลอดเวลา 2. ให้การดูแลสุขภาพเบื้องต้นแก่ประชาชนทุกกลุ่มอายุ/ทุกช่วงวัย 3. ให้บริการแบบ Comprehensive Care(รักษา ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู) 4. ให้บริการแบบ Continuous Care(เชื่อมโยง ต่อเนื่อง ส่งต่อ ส่งกลับ) 5. ให้บริการเชิงรุกโดยยึดครอบครัวและชุมชนเป็นฐานการจัดบริการ (Home ward & Community ward) 6. อปท. และภาคีร่วมทั้งภาครัฐและเอกชนมีส่วนร่วมและสนับสนุน การจัดระบบดูแลสุขภาพชุมชน/ระบบสุขภาพภาคประชาชน 7. ชุมชนมีความเข้มแข็งสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและจัดระบบ เฝ้าระวังสุขภาพด้วยตนเอง

  4. เป้าหมายสุดท้ายของการพัฒนา ( Ultimate Goal ) • 1. ประชาชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดี • 2. ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดระบบดูแลสุขภาพด้วยตนเอง • 3. ปัญหาโรคและสุขภาพในพื้นที่ได้รับการแก้ไขแบบครบวงจร • 4. ระบบสุขภาพภาครัฐเชื่อมโยงกับระบบสุขภาพภาคประชาชน • 5. เกิดความสมดุลย์ของค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ(สร้าง VS ซ่อม)

  5. เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Goal ) • 1. การพัฒนาบริการด่านหน้า (Front Liner Service) • 2. การพัฒนาระบบการดูแลต่อเนื่อง(Consultation/Refer /EMS) • 3. การพัฒนาระบบคุณภาพและศักยภาพบริการ(Service Quality) • 4. การพัฒนาระบบ Home ward และ Community ward • 5. การพัฒนาระบบการสร้างการมีส่วนร่วมของอปท./กองทุนฯ • 6. การพัฒนาระบบเสริมพลังสร้างความเข้มแข็งของอสม.และชุมชน

  6. กองทุนประกันสุขภาพตำบล /อปท. อาสาสมัคร/ภาคีสุขภาพ/เครือข่าย บริการที่บ้าน/ชุมชน บริการด่านหน้า /บริการส่งต่อ/EMS 2. ระบบสุขภาพภาครัฐ บริการดูแลพื้นฐานตามช่วงวัย 1.ระบบสุขภาพภาคประชาชน บริการตาม Package / Itemized/Area based กลยุทธ์ในการพัฒนา การบริหารสนับสนุน HR& การเสริมสร้างศักยภาพ 3. ระบบการบริหารจัดการ (CUP support) การบริหารสนับสนุนงบฯ & เวชภัณฑ์&เครื่องมือฯ การบริหารสนับสนับสนุน MIS/IT&KM

  7. ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่สำคัญตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่สำคัญ • ผลการดำเนินงานตามเกณฑ์ 3-ดี • ผลการดำเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐาน 4 มิติ 22 ข้อ • 3. ผลการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพ PCA • ผลการดำเนินงานการดูแล ส่งเสริมสุขภาพตามช่วงวัย • ผลการดำเนินงานการควบคุมและป้องกันโรคที่เป็นปัญหาในพื้นที่ • ผลการดำเนินงานแก้ไขปัญหาโรคและพฤติกรรมสุขภาพตามนโยบาย • 7. ผลการดำเนินงานตาม Package/Itemized/On-top payment

  8. แนวทางการนิเทศติดตาม 1. มาตรการ/แนวทางการบริหารสนับสนุน(CUP support) 2. มาตรการ/แนวทางการแก้ไขปัญหาโรค/สุขภาพ 3. มาตรการ/แนวทางการพัฒนาคุณภาพบริการ 4. มาตรการ/แนวทางการประสานการมีส่วนร่วมของ อปท.&ชุมชน

  9. ข้อมูลประชากร • ข้อมูลปัญหาสุขภาพ&โรคของพื้นที่ • ข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพ • ข้อมูลสิ่งแวดล้อมและความเสี่ยงด้านสุขภาพ • ข้อมูลงบประมาณ: UC/ OP /PPA /Package & Itemized/ON Top • ข้อมูลกองทุนประกันสุขภาพตำบล &กองทุน สสส. & กองทุน สช. ศูนย์ขัอมูล/MISหน่วยรวบรวมข้อมูล/transaction หน่วยปฏิบัติ/Operation

  10. การดูแลตาม 7 กลุ่มประชากร (DB 1) (DB 10) 3 – ดี 1–a 1–c 2–c 3–c 4–c (DB 2) (DB 3) (DB 4) (DB 5) NCD/CD EMS / Refer ส่งเสริมสุขภาพ ภาคประชาชน + + + 4/ 22 S กลุ่มปกติ -   กลุ่มเสี่ยง -   PCA กลุ่มป่วย    แทรกซ้อน  - - อาคารสถานที่ (DB6) HR (DB 7) เครื่องมือ /อุปกรณ์ (DB 8) Financial (DB 9) Data Based Management นโยบาย Package/Itemized ของ สป.สช. ปัญหาสุขภาพของพื้นที่

  11. ประเด็นสำคัญในการพัฒนา ประเด็นสำคัญในการพัฒนา • 1. การกำหนดขนาดพื้นที่และประชากรให้มีความเหมาะสมต่อการจัดระบบดูแล • (Cashment criteria , On top payment) • 2. การยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางในการดูแล (ตามช่วงวัย /ปกติ/เสี่ยง/ป่วย, • Package , Itemized . CMI) • 3. การใช้บ้านและชุมชนเป็นฐานในการดูแล (วิชาการ/ ชุมชน/ อปท.) • 4. การจัดระบบการดูแลให้เชื่อมโยงต่อเนื่องให้ครบวงจร(Refer, EMS, Skype) • 5. การจัดระบบการสนับสนุนจากแม่ข่ายที่เหมาะสม • (HR , Budget , Equipment , ยา/เวชภัณฑ์ , PCT/QA/MIS)

  12. สวัสดี noppakun5597@yahoo.com

More Related