1 / 35

ประชุมโครงการแก้ไขปัญหาน้ำมันปาล์มและราคาผลปาล์มตกต่ำ ปี 2555-2556

ประชุมโครงการแก้ไขปัญหาน้ำมันปาล์มและราคาผลปาล์มตกต่ำ ปี 2555-2556. วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ. วาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบและพิจารณา. 1. สถานการณ์ปาล์มน้ำมันของไทย ปี 2553-2555. เอกสารประกอบการประชุมชี้แจง โครงการแก้ไขปัญหาน้ำมันปาล์ม

sulwyn
Download Presentation

ประชุมโครงการแก้ไขปัญหาน้ำมันปาล์มและราคาผลปาล์มตกต่ำ ปี 2555-2556

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประชุมโครงการแก้ไขปัญหาน้ำมันปาล์มและราคาผลปาล์มตกต่ำ ปี 2555-2556

  2. วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ

  3. วาระที่ 2 เรื่องเพื่อทราบและพิจารณา

  4. 1. สถานการณ์ปาล์มน้ำมันของไทย ปี 2553-2555 เอกสารประกอบการประชุมชี้แจง โครงการแก้ไขปัญหาน้ำมันปาล์ม และราคาผลผลิตปาล์มน้ำมันตกต่ำ ปี 2555-2556

  5. พื้นที่เพาะปลูกและผลผลิตปาล์มน้ำมันของไทยพื้นที่เพาะปลูกและผลผลิตปาล์มน้ำมันของไทย 03/02/56 5

  6. บัญชีสมดุลน้ำมันปาล์มของไทย หน่วย : ล้านตัน 03/02/56 6

  7. ราคาผลปาล์มสดทั้งทะลาย ปี 2549-2554 03/02/56 7

  8. ราคาผลปาล์มสดทั้งทะลาย ปี 2553-2555 4.83 03/02/56 8

  9. ความเคลื่อนไหวของผลผลิตและราคาความเคลื่อนไหวของผลผลิตและราคา การส่งออกน้ำมันปาล์มดิบและน้ำมันปาล์มบริสุทธิ์ในช่วง 6 เดือนแรก ของปี 2555 ปรับเพิ่มขึ้นจากปีก่อน ถึงร้อยละ 364 และร้อยละ 92.3 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรคาดการณ์ว่าน้ำมันปาล์มดิบที่ผลิตได้จะมีปริมาณ มากกว่า 1.9 ล้านตัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5-7 จากปีก่อน ในช่วง 8 เดือนแรกที่ผ่านมา ปัญหาน้ำมันพืชบรรจุขวดที่วางจำหน่ายไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้บริโภคในบางช่วง ความต้องการใช้น้ำมันปาล์มดิบในประเทศมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะการใช้ผลิตพลังงานทดแทน ผลผลิตปาล์มออกสู่ตลาดน้อยลงกว่าช่วงปกติ ปัญหาภัยแล้งที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริกา (สหรัฐฯ บราซิล อาร์เจนตินา) 03/02/56 9

  10. ตารางแสดงผลผลิตปาล์มน้ำมันแยกรายเดือน ปี 2555 03/02/56 10

  11. ผลกระทบ น้ำมันบริโภคเริ่มมีขายน้อยลง ราคาผลปาล์มสดทั้งทะลายสูงขึ้น รัฐบาลกำหนดราคาน้ำมันพืชบรรจุขวดไม่เกิน 42 บาท/ลิตร เกิดการกักตุน เก็งราคา เก็บภาษีส่งออก ร้อยละ 10 ผลักดันให้มีการนำเข้าจากต่างประเทศ 03/02/56 12

  12. ผลกระทบ (ต่อ) คณะรัฐมนตรี มีมติอนุญาตการนำเข้าน้ำมันปาล์ม 4 หมื่นตัน สำหรับใช้ในการผลิตน้ำมันปาล์มบรรจุขวด กระทรวงพลังงานประกาศปรับลดสัดส่วนการผลิตไบโอดีเซล จากร้อยละ 4.5-5 เป็น ร้อยละ 3.5 03/02/56 13

  13. 03/02/56 14

  14. ของแถม

  15. ผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้า AEC 03/02/56 16

  16. ผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้า AEC(ต่อ) 03/02/56 17

  17. แนวทางการปรับตัวของผู้ประกอบการเพื่อรองรับผลกระทบจาก AEC เกษตรกร ต้องให้ความสำคัญกับการปรับปรุงการเพาะปลูก เพื่อให้ได้ผลผลิตต่อไร่สูง เลือกพื้นที่เพาะปลูกที่เหมาะสม การใส่ปุ๋ยในแต่ละช่วงอายุของต้นปาล์ม คัดเลือกพันธุ์ ที่มีอัตราการให้น้ำมันสูง การตัดแต่งทางใบ วางแผนเพาะปลูกปาล์มน้ำมันทดแทนต้นเก่า 03/02/56 18

  18. 2. สถานการณ์ปัญหาและการร้องเรียนของเกษตรกรชาวสวนปาล์ม ตั้งแต่วันที่ 2 ธ.ค.55 เป็นต้นมา เกษตรกรจากหลายจังหวัดในแหล่งผลิตหลัก เช่นนครศรีธรรมราช ระนอง ชุมพร กระบี่ ตรัง ฯลฯ ร้องเรียนเรื่องราคาผลปาล์มตกต่ำ ..และเรียกร้องให้รัฐบาลเข้ามาดำเนินการ ได้แก่ - พยุงราคาปาล์มทะลาย ไม่ต่ำกว่า5 บาท /กก. - ชดเชยราคาผลปาล์มให้เกษตรกรโดยตรง ผ่าน ธกส. - ให้รัฐบาลจัดทำสต๊อกกลางเก็บน้ำมันดิบเพื่อรอจำหน่าย และให้ชาวสวนปาล์มเป็นกรรมการตรวจสต๊อกน้ำมันปาล์มดิบ - เร่งดำเนินการผลิตไบโอดีเซล B5-B10 - ให้ช่วยเหลือภายในวันที่ 18 ธ.ค.55 เป็นต้น

  19. 3. นโยบายและการแก้ไขปัญหาของรัฐบาล • 12 ธ.ค.55 ตัวแทนของรองนายกรัฐมนตรี (นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง) โดย นายสุพร อัตถาวงศ์ เป็นประธานประชุมร่วมกับตัวแทนเกษตรกร ณ ทำเนียบรัฐบาล มอบหมายให้กระทรวงพาณิชย์พยุงราคาปาล์ม กก.ละ 5 บาท • 19 ธ.ค.55 คณะกรรมการนโยบายปาล์มน้ำมันแห่งชาติ (กนป.) มีมติให้โรงสกัดรับซื้อผลปาล์มน้ำมัน ที่อัตราน้ำมัน 17 % ราคา กก.ละ4 บาท และอัตราน้ำมัน 18.5 % กก.ละ 4.35 บาท และให้รับซื้อน้ำมันปาล์มดิบ กก.ละ 25 บาท จำนวน 50,000 ตัน ในวันเดียวกันกับเกษตรกรจังหวัดชุมพรปิดถนนเรียกร้องให้เร่งดำเนินการตามข้อเรียกร้องเดิม

  20. จาก.. มติ ของ กนป.***กำหนดให้กระทรวงพาณิชย์ เป็นผู้ดำเนินการในการรับซื้อน้ำมันปาล์มดิบจากโรงสกัด ราคา กก.ละ 25 บาท และให้โรงสกัด รับซื้อผลปาล์มสดจากเกษตรกร กก.ละ 4 บาทขึ้นไป*** โดยให้หารือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดแนวทางบริหารจัดการและขั้นตอนการดำเนินงาน เงื่อนไขการดำเนินโครงการของกระทรวงพาณิชย์กำหนดให้เจ้าหน้าที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในพื้นที่ให้การรับรองเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อยืนยันว่าผลผลิตปาล์มที่รับซื้อในโครงการเป็นของเกษตรกรจริง

  21. 4.มาตรการแก้ไขปัญหาน้ำมันปาล์มฯ ปี 55-56 ระยะที่ 1 : คชก.อนุมัติให้อคส.รับซื้อน้ำมันปาล์มดิบ จำนวน 50,000 ตัน ตั้งแต่เดือน ธ.ค. 55 ระยะที่ 2: คชก. อนุมัติให้ อคส.รับซื้อน้ำมันปาล์มดิบ เพิ่มอีก จำนวน 50,000 ตัน ถึงเดือนเม.ย.56

  22. 5.ปัญหาจากการดำเนินงานของกระทรวงพาณิชย์5.ปัญหาจากการดำเนินงานของกระทรวงพาณิชย์ 1. โรงงานสกัดน้ำมัน ที่รับซื้อผลปาล์มจากเกษตรกรไปแล้ว ไม่สามารถเบิกเงินค่าน้ำมันปาล์มดิบในราคา 25 บาท/กก.จาก อคส.ได้ เนื่องจากยังไม่ได้มีการรับรองว่าซื้อผลปาล์มมาจากเกษตรกรจริง ตามเงื่อนไขของโครงการ 2. ผู้แทนเกษตรกร ร้องเรียนว่าเกษตรกรรายย่อยไม่ได้รับการช่วยเหลือจากมาตรการของรัฐ อย่างแท้จริง

  23. แนวทางการการแก้ปัญหา 16 มกราคม 2556 กรมการค้าภายใน ขอความร่วมมือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • ให้รับรองความเป็นเกษตรกรที่ได้จำหน่ายผลปาล์มให้โรงงานสกัดไปแล้ว เพื่อให้โรงงานสามารถเบิกเงินค่าน้ำมันปาล์มดิบจาก อคส. และมีเงินมาหมุนเวียนรับซื้อในรอบต่อไป • หาแนวทางในการรับรองความเป็นเกษตรกรรายย่อย เพื่อให้เกษตรกรส่วนใหญ่ได้รับประโยชน์จากมาตรการช่วยเหลือของรัฐ

  24. 6.แนวทางการรับรองเกษตรกรของกรมส่งเสริมการเกษตร6.แนวทางการรับรองเกษตรกรของกรมส่งเสริมการเกษตร ระยะที่ 1 : 50,000 ตันแรก รับรองความเป็นเกษตรกรเท่านั้น ระยะที่ 2 : 50,000 ตัน • ขึ้นทะเบียนตามแนวทางการขึ้นทะเบียน เกษตรกรปลูกพืชเศรษฐกิจ • ออกใบรับรองว่าเป็นเกษตรกรรายย่อย เฉพาะผู้ที่มีสิทธิ์เข้าร่วมโครงการ

  25. 7. หลักเกณฑ์การรับรองเกษตรกร 7.1การรับรองเกษตรกรตามแผนการรับซื้อระยะที่ 1(50,000 ตัน แรก) ตามหนังสือกรมส่งเสริมฯกษ 1012/ว55ลงวันที่ 17 มกราคม 2556 • ตรวจสอบรายชื่อเกษตรกรจากบัญชีรับซื้อผลปาล์มของโรงสกัด • รับรองว่าเป็นเกษตรกรตามที่ได้ขึ้นทะเบียนเกษตรกร (ทบก.)ไว้กับกรมส่งเสริมการเกษตร • ในการรับรองดังกล่าวเป็นการรับรองเฉพาะความเป็นเกษตรกรเท่านั้นไม่รวมถึงเอกสารสิทธิ์ในที่ดิน พื้นที่ ผลผลิต หรือสาระสำคัญอื่น และหนังสือกรมส่งเสริมฯ ที่ กษ 1012/ว 86 ลงวันที่ 28 มกราคม 2556 ให้เกษตรกรที่จำหน่ายผลปาล์มให้โรงงานสกัดไปแล้ว และยังไม่มีรายชื่อใน ทบก.มาขึ้นทะเบียนเพิ่มเติม เพื่อให้การรับรองต่อไป

  26. วิธีการขึ้นทะเบียน 7.2 การขึ้นทะเบียนเกษตรกรและออกใบรับรองผู้ปลูกปาล์มระยะที่ 2 (50,000 ตัน) หนังสือกรมส่งเสริมฯกษ 1012/ว 60 ลงวันที่ 18 มกราคม 2556 • สำนักงานเกษตรจังหวัด /อำเภอ ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันในเขตพื้นที่ส่งเสริม 28 จังหวัด มาขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมัน โดยให้เกษตรกรขอรับแบบขึ้นทะเบียนได้ที่สำนักงานเกษตรอำเภอในท้องที่ • ยึดหลักเกณฑ์และวิธีการขึ้นทะเบียน ให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจ • ออกใบรับรองให้เฉพาะเกษตรกรรายย่อย เพื่อนำไปแสดงในการเข้าร่วมโครงการ

  27. วิธีขึ้นทะเบียน (ต่อ) • รับขึ้นทะเบียน ตามแบบคำร้องที่กำหนด (ในแต่ละแปลงต้องให้เกษตรกรแปลงข้างเคียงและกำนัน ผู้ใหญ่บ้านฯลฯ ลงนามรับรอง) • บันทึกข้อมูลของเกษตรกรลงในระบบ ที่http//:palm.doae.go.th • ติดประกาศรายชื่อในที่สาธารณะให้ร่วมกันตรวจสอบ 3 วัน • สุ่มตรวจพื้นที่ร้อยละ 10 • ออกใบรับรองให้กับเกษตรกร และสรุปรายชื่อที่ผ่านการรับรองแล้วให้สำนักงานการค้าภายในของจังหวัด • หากมีข้อขัดแย้ง ให้คณะกรรมการเพื่อแก้ไขปัญหาเกษตรกรอันเนื่องมาจากผลิตผลการเกษตรระดับจังหวัด (คพจ.) เป็นผู้วินิจฉัย

  28. คุณสมบัติของเกษตรกรที่มีสิทธิ์ขึ้นทะเบียนคุณสมบัติของเกษตรกรที่มีสิทธิ์ขึ้นทะเบียน • มีสัญชาติไทย • ขึ้นทะเบียนเกษตรกร (ทบก.01) กับกรมส่งเสริมการเกษตรไว้แล้ว • ต้องปลูกปาล์มน้ำมันในพื้นที่ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ประกาศเป็นเขตส่งเสริมปลูกปาล์มน้ำมัน • ปลูกปาล์มน้ำมันในพื้นทีทีมีสิทธิทำกินในที่ดินโดยชอบด้วยกฎหมาย • รับขึ้นทุกราย

  29. คุณสมบัติของเกษตรกรรายย่อยที่มีสิทธิ์เข้าร่วมโครงการ(ออกใบรับรองได้)คุณสมบัติของเกษตรกรรายย่อยที่มีสิทธิ์เข้าร่วมโครงการ(ออกใบรับรองได้) หนังสือกรมส่งเสริมการเกษตรกษ 1012/ว 96 ลงวันที่ 30 มกราคม 2556 • เป็นเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนไว้กับกรมส่งเสริมการเกษตร • ต้องปลูกปาล์มน้ำมันในพื้นที่ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ประกาศเป็นเขตส่งเสริมปลูกปาล์มน้ำมัน • ปลูกปาล์มน้ำมันในพื้นที่ที่มีสิทธิทำกินในที่ดินโดยชอบด้วยกฎหมาย • มีพื้นที่การผลิตปาล์มน้ำมัน ไม่เกิน 50 ไร่

  30. ฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร (ทบก.01) ผู้ปลูกปาล์มน้ำมันแยกตามขนาดพื้นที่ปลูก

  31. แผนปฏิบัติการขึ้นทะเบียนเกษตรกรปลูกปาล์มน้ำมัน โครงการแก้ไขปัญหาน้ำมันปาล์มและราคาผลปาล์มตกต่ำ ปี 2555-2556 • ม.ค.-ก.พ.56 ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรมาขึ้นทะเบียน • ม.ค.-ก.พ.56 รับคำร้องขอขึ้นทะเบียน • ม.ค.-ก.พ.56 บันทึกข้อมูล/สุ่มตรวจ • 4 -5 ก.พ. 56 ประชุมชี้แจงการออกใบรับรอง • ม.ค.-ก.พ.56 ออกใบรับรองให้เกษตรกร • ก.พ.-มิ.ย.56 ติดตามประเมินผล

  32. หน่วยงานร่วมดำเนินการหน่วยงานร่วมดำเนินการ 1. สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร เขต 1 3 4 5 2. สำนักงานเกษตรจังหวัด ในเขตพื้นที่ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ประกาศเป็นเขตส่งเสริมปลูกปาล์มน้ำมัน 24 จังหวัด คือ จันทบุรี ตราด ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแก้ว ประจวบคีรีขันธ์ กระบี่ ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช พังงา พัทลุง ภูเก็ต ระนอง สงขลา สตูล สุราษฎร์ธานี นราธิวาส ปัตตานี ยะลา และหนองคาย และบึงกาฬ และจังหวัดในพื้นที่สวนส้มร้างทุ่งรังสิตที่ได้รับการประกาศเป็นรายแปลง 4 จังหวัด คือ จังหวัดปทุมธานี สระบุรี พระนครศรีอยุธยา และนครนายก

  33. ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน (จากงบ คชก.) • ค่าประชาสัมพันธ์ • ค่าใช้จ่ายในการขึ้นทะเบียนและออกใบรับรองเกษตรกรรายย่อย - ค่าจัดทำใบคำร้องขอขึ้นทะเบียน รายๆละ 2 บาท - ค่าออกใบรับรองจำนวน รายๆละ 2 บาท - ค่าใช้จ่ายในการสุ่มตรวจ (ร้อยละ 10 ของจำนวนเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียน)รายละ 15 บาท • ค่าใช้จ่ายในการติดตามนิเทศ กรมส่งเสริมการเกษตร ได้แจ้งขอให้เปิดบัญชีธนาคาร ธ.ก.ส. ตามหนังสือกรมส่งเสริมฯ ที่ กษ 1012/ว 111 ลงวันที่ 31 มกราคม 2556

  34. การบันทึกข้อมูลและออกใบรับรองการบันทึกข้อมูลและออกใบรับรอง • ศูนย์สารสนเทศ

More Related