1 / 58

สถานการณ์เศรษฐกิจโลก

สถานการณ์เศรษฐกิจโลก. บรรยายแก่... CIMB Securities ดร. บันลือศักดิ์ ปุสสะรังษี สำนักวิจัย ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย จำกัด (มหาชน) 23 สิงหาคม 2555. การฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยหลังน้ำท่วมใหญ่ในปี 2554 วิกฤติยุโรปยังไม่มีทีท่าว่าจะจบลงง่ายๆ เศรษฐกิจจีนและสหรัฐฯ อ่อนแรงลง

huyen
Download Presentation

สถานการณ์เศรษฐกิจโลก

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถานการณ์เศรษฐกิจโลก บรรยายแก่...CIMB Securities ดร. บันลือศักดิ์ ปุสสะรังษี สำนักวิจัย ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย จำกัด (มหาชน) 23 สิงหาคม 2555

  2. การฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยหลังน้ำท่วมใหญ่ในปี 2554 • วิกฤติยุโรปยังไม่มีทีท่าว่าจะจบลงง่ายๆ • เศรษฐกิจจีนและสหรัฐฯ อ่อนแรงลง • ปัจจัยที่ต้องติดตามในช่วงที่เหลือของปี 2555 2

  3. การฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยหลังน้ำท่วมใหญ่ในปี 2554

  4. การฟื้นตัวของเศรษฐกิจหลังน้ำท่วม: เศรษฐกิจไทยขยายตัวค่อนข้างสูงในไตรมาสที่ 2 GDP รายไตรมาส GDP รายปี %,y-o-y %,y-o-y Consensus โดย Asian Wall Street Journal อยู่ที่ร้อยละ 3.25 ที่มา: สศช. ที่มา: สศช. 4

  5. การขยายตัวมาจากการบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน… ส่วนหนึ่งมาจาก Pent-up Demand มาตรการของรัฐฯ เช่นรถคันแรก อัตราการขยายตัวของการบริโภคภาคเอกชน ดัชนีการอุปโภคบริโภคและดัชนีการลงทุนภาคเอกชน %,y-o-y Index Index อัตราการขยายตัวของการลงทุนภาคเอกชน %,y-o-y

  6. การใช้จ่ายภาครัฐเป็นปัจจัยเสริมให้เศรษฐกิจขยายตัวการใช้จ่ายภาครัฐเป็นปัจจัยเสริมให้เศรษฐกิจขยายตัว อัตราการขยายตัวของการบริโภคภาครัฐ อัตราการขยายตัวของการลงทุนภาครัฐ %,y-o-y %,y-o-y 6

  7. การส่งออกถูกกระทบจากทั้งน้ำท่วมและวิกฤติหนี้สาธารณะยุโรปการส่งออกถูกกระทบจากทั้งน้ำท่วมและวิกฤติหนี้สาธารณะยุโรป อัตราการเปลี่ยนแปลงของมูลค่าการส่งออกของไทยจำแนกตามประเทศคู่ค้า (อาเซียน, จีน, ยุโรป, ญี่ปุ่น, ตะวันออกกลาง และสหรัฐอเมริกา) : USD term %,y-o-y 7

  8. การส่งออกถูกกระทบทั้งจากน้ำท่วมและวิกฤติหนี้สาธารณะยุโรป (ต่อ) การส่งออกของประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก (USD Term) %,y-o-y 8

  9. เงินเฟ้อชะลอตัวลง อย่างไรก็ตามยังมีปัจจัยที่อาจจะมีผลทำให้เงินเฟ้อพุ่งขึ้น เช่น ราคาน้ำมันและภาวะแห้งแล้งในสหรัฐฯ … กนง. ยังไม่ลดดอกเบี้ยในการประชุมครั้งต่อไป อัตราเงินเฟ้อทั่วไปและพื้นฐาน ราคาน้ำมันดิบ (Dubai) %,y-o-y USD/Barrel 9

  10. เงินเฟ้อชะลอตัวลง อย่างไรก็ตามยังมีปัจจัยที่อาจจะมีผลทำให้เงินเฟ้อพุ่งขึ้น เช่น ราคาน้ำมันและภาวะแห้งแล้งในสหรัฐฯ … กนง. ยังไม่ลดดอกเบี้ยในการประชุมครั้งต่อไป (ต่อ) การคาดการณ์เงินเฟ้อในระยะ 12 เดือนข้างหน้า (มิถุนายน 2555) ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย 10

  11. นโยบายด้านการคลัง: งบประมาณขาดดุลต่อเนื่องและหนี้สาธารณะเริ่มเพิ่มขึ้น ดุลงบประมาณ หนี้สาธารณะต่อ GDP ล้านบาท % to gdp ที่มา: สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง 11

  12. นโยบายด้านการคลัง: การขาดดุลปีงบประมาณ 2555 ต่ำกว่าเป้าเล็กน้อย งบประมาณรายได้และผลจัดเก็บรายได้สุทธิ ผลต่างของงบประมาณรายได้และผลจัดเก็บรายได้สุทธิ ล้านบาท ล้านบาท ผลต่างของงบประมาณรายได้และผลจัดเก็บรายได้สุทธิ (9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2555: ต.ค 54 - มิ.ย. 55) ล้านบาท 12

  13. นโยบายด้านการคลัง: การขาดดุลปีงบประมาณ 2555 ไม่เป็นไปตามเป้า ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ ผลต่างของการจัดเก็บรายได้สุทธิและการเบิกจ่ายงบประมาณ ล้านบาท ล้านบาท 13

  14. นโยบายด้านการคลัง: มาตรการทางการคลัง ประชานิยมและกึ่งการคลังที่คาดว่าจะเป็นภาระในอนาคต • มาตรการทางการคลังที่สำคัญ เช่น • การลดภาษีรายได้นิติบุคคลจากร้อยละ 30 เหลือร้อยละ 23 ในปี 2555 และลดลงเหลือร้อยละ 20 ในปี 2556 • มาตรการประชานิยมและกึ่งการคลัง เช่น • จำนำข้าว • บัตรเครดิตเกษตรกร • พักหนี้ครัวเรือนและเกษตรกรรายย่อยและผู้มีรายได้น้อย • กองทุนหมู่บ้านและ SML • โครงการ Tablet • โครงการบ้านหลังแรกและรถคันแรก 14

  15. นโยบายด้านการคลัง: สัดส่วนของงบประมาณลงทุนลดลงอย่างต่อเนื่อง สัดส่วนของงบประมาณลงทุนต่องบประมาณรายจ่ายทั้งหมด % 15

  16. นโยบายด้านการคลัง: หนี้สาธารณะระดับใดจึงจะถือว่าไม่สูงเกินไป ประมาณการรายรับของรัฐบาลต่อ GDP มาตรฐานสากลของหนี้สาธารณะต่อ GDP ประเทศไทยมีรายรับทางการคลังต่ำกว่าประเทศพัฒนาแล้วมาก ทำให้หนี้สาธารณะที่ไม่เป็นปัญหาต่อ GDP ควรจะต่ำกว่ามาตรฐานของประเทศพัฒนาแล้ว % to GDP % to GDP หมายเหตุ: *=2554 **=2556 ***=2555

  17. นโยบายด้านการคลัง: ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับนโยบายการคลังในปีที่ผ่านมา ช่องว่างการผลิต (Output Gap) • งบประมาณที่เกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมีน้อยมากเมื่อเทียบกับงบประมาณเกี่ยวกับประชานิยม • เน้นการเร่งอุปสงค์ในประเทศเพื่อให้เศรษฐกิจขยายตัวในอัตราที่สูงมากกว่าการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ซึ่งอาจจะไม่เหมาะกับสถานการณ์ในปี 2554 และต้นปี 2555 เพราะมี Output Gap ต่ำจากการขาดแคลนแรงงาน • ยังไม่มีการลงทุนใน Infrastructure อย่างจริงจังรวมถึงที่เกี่ยวกับการป้องกันน้ำท่วม • ไม่มีเป้าหมายและยุทธศาสตร์ของประเทศที่ชัดเจน ในการกำหนดนโยบายการคลัง ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย อัตราการว่างงานของไทย % 17 ที่มา: สำนักงานสถิติแห่งชาติ

  18. นโยบายด้านการคลัง: บทเรียนประชานิยมจากละตินอเมริกา 1970’s และ 1980’s, (Jeffrey Sachs) • ประเทศละตินอเมริกาหลายประเทศก่อนหน้าการใช้นโยบายประชานิยม มีการกระจายรายได้ที่เลวร้าย ความรุนแรงในความขัดแย้งเกี่ยวกับแรงงานอยู่ในระดับสูง และความขัดแย้งทางสังคมสูงทั้งระหว่างชนชั้นในสังคมที่แตกต่างกัน ภูมิภาคที่แตกต่างกัน และเชื้อชาติที่ต่างกัน • มีการนำนโยบายประชานิยมสุดโต่งมาใช้เพื่อบรรเทาความขัดแย้งทางสังคมและหวังผลประโยชน์ทางการเมือง • มีการใช้นโยบายประชานิยมโดยรัฐบาลที่มีความแตกต่างกัน • เผด็จการประธานาธิบดี Pinochet ของชิลี • รัฐบาลทหารของบราซิลในคริสต์ทศวรรษ 1970 • รัฐบาลฝ่ายซ้าย เช่น ประธานาธิบดี Allende ของ ชิลี 18

  19. นโยบายด้านการคลัง: บทเรียนประชานิยมจากละตินอเมริกา 1970’s และ 1980’s, (Jeffrey Sachs) (ต่อ) • นโยบายประชานิยมเป็นนโยบายสุดโต่งมี 2 แบบด้วยกัน • นโยบายประชานิยมโดยตรงแบบสุดโต่ง • นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจโดยไม่รักษาวินัยการคลัง • มาตรการเกี่ยวกับการกระจายรายได้ • มีแต่นโยบาย Distribution of Income หรือการสร้างรายได้แก่ประชาชนที่ด้อยโอกาส • ไม่มีนโยบาย Redistribution of Income หรือการกระจายรายได้จากคนรวยไปสู่คนจน • หลังจากการใช้นโยบายประชานิยมและการกระจายรายได้แนวทางนี้ ช่องว่างระหว่างรายได้ไม่ได้ลดลง 19

  20. นโยบายด้านการคลัง: บทเรียนประชานิยมจากละตินอเมริกา 1970’s และ 1980’s, (Jeffrey Sachs) (ต่อ) • การใช้นโยบายประชานิยมสุดโต่งส่วนใหญ่เป็นการใช้ในระยะสั้นๆ • ชิลี 1972-73 • อาร์เจนตินา 1946-48 • บราซิล 1985-88 • เปรู 1985-89 • สถานการณ์ของการใช้นโยบายประชานิยมแบบสุดโต่ง • ในช่วงต้นของนโยบายส่วนใหญ่เศรษฐกิจขยายตัวดี ค่าจ้างแท้จริง (Real Wage) เพิ่มขึ้น เงินเฟ้อต่ำ และค่าเงินมีเสถียรภาพ • ช่วงที่ 2 เศรษฐกิจถดถอย และ Real Wage ลดลง • ช่วงสุดท้ายเกิดการล่มสลายของระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่เพราะขาดดุลบัญชีเดินสะพัดสูงทำให้เงินสำรองระหว่างประเทศหมด และประเทศไม่สามารถเข้าถึงตลาดการเงินระหว่างประเทศ 20

  21. วิกฤติยุโรปยังไม่มีทีท่าว่าจะจบลงง่ายๆ

  22. ประเทศที่มีความสามารถในการแข่งขันที่ต่างกันมากแต่ใช้เงินสกุลเดียวกันและขาดกลไกในการปรับตัวประเทศที่มีความสามารถในการแข่งขันที่ต่างกันมากแต่ใช้เงินสกุลเดียวกันและขาดกลไกในการปรับตัว มีความแตกต่างระหว่างการปรับความสมดุลของสหรัฐฯ และยุโรป ใช้ค่าเงินในการปรับตัวรักษาขีดความสามารถในการแข่งขัน ประเทศที่ใช้เงินต่างสกุลกัน • ใช้อัตราเงินเฟ้อที่ต่างกันเพื่อปรับ Real Wage • ใช้การชดเชยทางการคลังโดยรัฐที่เจริญกว่าจ่ายเงินให้รัฐที่เจริญน้อยกว่าผ่านระบบ การคลัง Revenue Sharing • รัฐบาลกลางช่วยเหลือกรณีวิกฤติเช่นการแตกของฟองสบู่อสังหาริมทรัพย์และวิกฤติสถาบันการเงินในรัฐ Texas ประเทศที่มีหลายมลรัฐที่มีความสามารถในการแข่งขันที่ต่างกัน (เช่นประเทศสหรัฐฯ) 22

  23. มาตรการสำคัญ จากการประชุม EUSummit วันที่ 28-29 มิถุนายน 2555 • มาตรการระยะสั้น • ให้กองทุน ESM (หรือ EFSF)เพิ่มทุนให้ธนาคารพาณิชย์ได้โดยตรง ไม่ต้องให้รัฐบาลกู้ • ให้กองทุน ESM (หรือ EFSF)ยืดหยุ่นในการซื้อพันธบัตรรัฐบาลมากขึ้น (คาดว่าจะมีความชัดเจนในเดือนตุลาคม) • หนี้ที่มีต่อ ESM (หรือ EFSF) ไม่ได้สิทธิพิเศษเหนือเจ้าหนี้อื่น • ระยะปานกลาง • จัดตั้งสถาบันกำกับดูแลสถาบันการเงินทั้ง Euro Zone (ตั้งเป้าว่าจะทำได้ในเดือนตุลาคม) • จัดตั้ง Fiscal Union โดยมีองค์กรดูแลงบประมาณของประเทศสมาชิก • ออก Euro Bond ทดแทนพันธบัตรของรัฐบาลแต่ละประเทศ “ภายหลังการจัดตั้ง Fiscal Union” มาตรการระยะสั้นเกือบทั้งหมดขึ้นอยู่กับมาตรการระยะปานกลาง อัดฉีดเงิน 120,000 ล้านยูโรเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ? 23

  24. มาตรการที่ออกมาบรรเทาปัญหาระยะสั้นได้ค่อนข้างดี: มาตรการระยะสั้นแก้ปัญหาได้บางส่วน ระยะสั้น การประชุม EU Summit ให้ ESM ซื้อได้บางส่วนเป็นหลักการเบื้องต้น คาดว่าจะได้ข้อสรุปในเดือนตุลาคม ECB ซื้อพันธบัตรรัฐบาล PIIGS อย่างไม่จำกัด ลด Yield ของพันธบัตรรัฐบาล PIIGS ECB ค้ำประกันเงินฝากทั้งระบบ (ถ้าจำเป็น) ECB ให้ธนาคารกู้อย่างไม่จำกัดโดยมีหลักทรัพย์ค้ำประกัน รวมถึง LTRO 3 ESM หรือ EFSF เพิ่มทุนให้กับธนาคารพาณิชย์โดยตรง ไม่ผ่านประเทศ กองทุน ESM และ EFSF ไม่ได้สิทธิพิเศษเหนือเจ้าหนี้อื่น • 1 และ 2 เป็นไปได้ยากมากเพราะทุน ECB ต่ำและเยอรมนีคัดค้าน • การประชุม EU Summit ล่าสุดได้เห็นชอบ 3 และ 4 สร้างความมั่นใจที่มีต่อธนาคารพาณิชย์และไม่ให้เกิด Bank Run ไม่ให้เกิดการไหลออกของเงินทุนจากประเทศ PIIGS เป็นไปได้ถ้ารัฐบาลต้องการและจำเป็น Capital Control (ถ้าจำเป็น)

  25. มาตรการที่ออกมาบรรเทาปัญหาระยะสั้นได้ค่อนข้างดี: มาตรการซื้อพันธบัตรรัฐบาลอาจจะมีปัญหาเหมือน LTRO ที่สถาบันการเงินถือโอกาสขายพันธบัตรรัฐบาลที่มีปัญหา ระยะสั้น (ต่อ) ซื้อพันธบัตรรัฐบาล PIIGS รัฐบาล PIIGS ธนาคารของประเทศ PIIGS หลักทรัพย์ค้ำประกัน รวมพันธบัตรรัฐบาล PIIGS ซื้อพันธบัตรรัฐบาล PIIGS เงินทุน เงินทุน ธนาคารลูกใน PIIGS ECB คืนหนี้โดยใช้เงินกู้จาก ECB หลักทรัพย์ค้ำประกัน รวมพันธบัตรรัฐบาล PIIGS ธนาคารแม่ 25

  26. มาตรการระยะปานกลางทำได้ค่อนข้างยากและต้องใช้เวลา: การรวมศูนย์ในการกำกับดูแลสถาบันการเงินแม้ว่าจะทำได้แต่ต้องใช้เวลานานในการนำไปปฏิบัติ ระยะปานกลาง การกำกับดูแลสถาบันการเงิน สามารถทำได้แต่ต้องใช้เวลาประมาณ 1 ปีเป็นอย่างน้อย /กฎระเบียบแตกต่างกันมาก แต่การเพิ่มทุนยังมีปัญหา • ปัญหาธนาคารพาณิชย์มีสาขาทั้งยุโรป แต่การกำกับดูแลทำโดยแต่ละประเทศเป็นหลัก • ธนาคารต้องเพิ่มทุนอีกมาก การรวมศูนย์ในการกำกับดูแลสถาบันการเงิน 26

  27. มาตรการระยะปานกลางทำได้ค่อนข้างยากและต้องใช้เวลา: ต้องมีการตั้ง Fiscal Union ก่อนการออก Euro Bond แต่มีข้อจำกัดทางการเมืองทำให้เป็นไปได้ยาก ระยะปานกลาง ต้องตั้ง Fiscal Union ก่อน ซึ่งเป็นไปได้ยาก Yield ของพันธบัตรรัฐบาลประเทศ PIIGS สูงมากจนไม่สามารถชำระหนี้ได้ Euro Bond • การตั้ง Fiscal Union ต้องขออนุมัติจากรัฐสภา และมีแนวโน้มว่าจะต้องขอประชามติจากประชาชน ซึ่งเป็นไปได้ยาก • Fiscal Union ยังไม่ได้สร้างกลไกแก้ปัญหาการขาดสมดุลของประเทศที่ขีดความสามารถการแข่งขันต่ำ 27

  28. มาตรการระยะปานกลางทำได้ค่อนข้างยากและต้องใช้เวลา: ต้องมีการตั้ง Fiscal Union ก่อนการออก Euro Bond แต่มีข้อจำกัดทางการเมืองทำให้เป็นไปได้ยาก (ต่อ) กระแสความนิยมในการเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปลดลงอย่างต่อเนื่อง ที่มา: The Economist 28

  29. มาตรการระยะปานกลางทำได้ค่อนข้างยากและต้องใช้เวลา: ต้องมีการตั้ง Fiscal Union ก่อนการออก Euro Bond แต่มีข้อจำกัดทางการเมืองทำให้เป็นไปได้ยาก(ต่อ) ความสนใจในการเลือกตั้งสมาชิกสภาสหภาพยุโรปลดลงต่อเนื่อง ทีมา: The Economist 29

  30. มาตรการระปานกลางทำได้ค่อนข้างยากและต้องใช้เวลา: ต้องมีการตั้ง Fiscal Union ก่อนการออก Euro Bond แต่มีข้อจำกัดทางการเมืองทำให้เป็นไปได้ยาก(ต่อ) ในอดีตมีหลายประเทศมีปัญหาในการลงประชามติเกี่ยวกับข้อตกลงของสหภาพยุโรป 30

  31. ปัญหาไม่ใช่เพียงหนี้สาธารณะแต่เป็นปัญหาโครงสร้างที่ไม่มีแนวทางแก้ไขที่ชัดเจน: มีความจำเป็นที่ประเทศ PIIGS ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อให้สามารถที่จะแข่งขันกับประเทศที่ใช้เงินยูโรได้แต่ประเทศ PIIGS ยังไม่ได้ทำตามที่ตกลง ความแตกต่างในการแข่งขันของประเทศสมาชิก Euro zone ในระดับสูง ระยะยาว ในทางการเมืองเป็นไปได้ยาก เช่นประเทศกรีซยังไม่ยอมแก้ไขกฎหมายต่างๆ และอิตาลียังไม่ยอมแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับแรงงาน ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจโดยเฉพาะตลาดแรงงาน 31

  32. วิกฤติที่เกิดขึ้นส่งผลให้เศรษฐกิจ Euro Zone หดตัวหลายไตรมาส อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ EU-17 %,q-o-q อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจฝรั่งเศส อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจเยอรมนี %,q-o-q %,q-o-q 32

  33. วิกฤติที่เกิดขึ้นส่งผลให้เศรษฐกิจ Euro Zone หดตัวหลายไตรมาส (ต่อ) อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจกรีซ อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไอร์แลนด์ %,y-o-y %,q-o-q อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจโปรตุเกส อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจอิตาลี อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจสเปน %,q-o-q %,q-o-q %,q-o-q 33

  34. วิกฤติทำให้การบริโภคลดลงหรือชะลอตัวลงในหลายด้านวิกฤติทำให้การบริโภคลดลงหรือชะลอตัวลงในหลายด้าน ที่มา: WSJ 34

  35. เศรษฐกิจจีนและสหรัฐฯ อ่อนแรงลง

  36. เศรษฐกิจจีน …แม้ว่าธนาคารกลางจีนปรับลด Required Reserve Ratio และมีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจแต่สินเชื่อขยายตัวในอัตราที่ลดลง และการส่งออกชะลอตัวลง GDP รายไตรมาสของจีน %,y-o-y 36

  37. การชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน: การขยายตัวของเศรษฐกิจจีนที่เน้นการลงทุนไม่สามารถที่จะเป็นไปได้อย่างต่อเนื่องในระยะยาว สัดส่วนการลงทุนต่อ GDP ของประเทศจีน ไทย มาเลเซีย เกาหลีใต้ และอินโดนีเซีย % 37

  38. การชะลอตัวของเศรษฐกิจจีน: แม้ว่าธนาคารกลางจีนปรับลด Required Reserve Ratio และมีมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจแต่สินเชื่อขยายตัวในอัตราที่ลดลง และการส่งออกชะลอตัวลง (ต่อ) อัตราการขยายตัวของมูลค่าการส่งออก (USD Term) อัตราการขยายตัวของสินเชื่อ (Loan Growth) %, y-o-y %, y-o-y ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ ภาคอุตสาหกรรมโดย HSBC 38 ที่มา: Markit, HSBC.

  39. เศรษฐกิจจีน…ตลาดแรงงานตึงตัวทำให้ไม่มีปัญหาการว่างงาน ดังนั้นรัฐบาลจีนยังไม่มีความจำเป็นที่จะกระตุ้นเศรษฐกิจเหมือนปี 2551/52 ประมาณการจำนวนประชากรที่มีอายุระหว่าง 15-19 ปี (Population aged 15-19, estimated) สัดส่วนของตำแหน่งงานว่างต่อผู้กำลังหางาน* (Ratio of job vacancies to job seekers) ล้านคน % *A ratio higher than 1 indicates excess demand for workers ที่มา: WSJ, CEIC, National Bureau of statistics, Ministry of Human Resources and Social Security, and United Nations 39

  40. เศรษฐกิจจีนได้ผ่านระยะการขยายตัวสูง: FDI เริ่มลดลงจากปัญหา Excess Capacity และวิกฤติยุโรป %การเปลี่ยนแปลงของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment) Mil.USD %,y-o-y ที่มา: CEIC Data and Ministry of Commerce 40

  41. เศรษฐกิจจีนได้ผ่านระยะการขยายตัวสูง: Foreign Reserve ก็เริ่มชะลอลง เงินสำรองระหว่างประเทศ bil.USD 41

  42. รัฐบาลจีนกระตุ้นเศรษฐกิจแต่ไม่มากเหมือนปี 2551 – 2552 Major investment project approvals Required Reserve Ratio Unit % 42

  43. จำนวนประชากรของจีนที่อยู่ในเมืองมากกว่าในชนบททำให้การเพิ่มของ Urbanization ที่เป็นปัจจัยสำคัญในการเพิ่มอุปสงค์ในประเทศจะชะลอลงในอนาคต 43

  44. ตัวแปรทางเศรษฐกิจอื่นๆ ก็ชี้ว่าเศรษฐกิจจีนจะชะลอตัวลง New floor space under development, change from a year earlier การเปลี่ยนแปลงของผลผลิตภาคอุตสาหกรรม %, y-o-y ส่งออกจีนไป EU, change from a year earlier 44

  45. ความยั่งยืนของการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ: เศรษฐกิจสหรัฐฯ ขยายตัวในอัตราที่ลดลง อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ %,q-o-q: annual rate 45

  46. ความยั่งยืนของการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ: การฟื้นตัวเกิดจากการบริโภคและการส่งออก อัตราการขยายตัวของอุปสงค์แบ่งตามประเภทปี 2554 %,q-o-q: annual rate การลงทุนในเครื่องมือเครื่องจักรภาคเอกชน การใช้จ่ายในการบริโภคภาคเอกชน การใช้จ่ายภาครัฐฯ การส่งออก 46

  47. ความยั่งยืนของการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ: การบริโภคชะลอตัวลง ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคโดยสำนัก Conference Board การบริโภคส่วนบุคคล (PCE) index %,y-o-y ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคโดยรอยเตอร์ส/มหาวิทยาลัยมิชิแกน index 47

  48. ความยั่งยืนของการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ: การจ้างงานเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลงและอัตราการว่างงานยังอยู่ในระดับสูงมาก …การบริโภคมีแนวโน้มที่จะชะลอตัวลงไปอีก การเปลี่ยนแปลงของยอดการจ้างงานนอกภาคการเกษตร ราย อัตราการว่างงาน % 48

  49. ความยั่งยืนของการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ: หนี้สาธารณะกลายเป็นปัญหาสำคัญของประเทศสหรัฐฯ มูลค่าหนี้สาธารณะต่อ GDP % • ภายหลังวิกฤติการเงินปี 2551/2 สหรัฐฯ ขาดดุลงบประมาณอย่างไม่เคยมีมาก่อน • รายรับลดลง • รายจ่ายกระตุ้นเศรษฐกิจสูงขึ้น • รายจ่ายด้านสวัสดิการสังคมสูงขึ้น • แม้ว่าสภาสูงและสภาล่างตกลงให้ต่ออายุการชดเชยการว่างงานและการลดภาษีรายได้จากค่าจ้างไปถึงสิ้นปี 2555 แต่อาจจะมีการตัดงบประมาณอื่นทดแทน • อาจจะมีการตัดการใช้จ่ายภาครัฐประมาณปีละ 120,000 ล้าน USD ต่อปี เริ่มปีงบประมาณ 2556 • วิกฤติเพดานหนี้ของสหรัฐฯ อาจจะกลับมาอีก ดุลงบประมาณสหรัฐฯ ล้าน USD *Congressional Budget Office

  50. ปัจจัยที่ต้องติดตามในช่วงที่เหลือของปี 2555

More Related