1 / 26

ผลรวมความก้าวหน้าสรุป ณ วันที่ 30 พฤษภาคม 2554

ผลรวมความก้าวหน้าสรุป ณ วันที่ 30 พฤษภาคม 2554. เครื่องรับ-ส่งวิทยุสื่อสาร ๖๐ วัตต์ ผส.ชป.8 ที่สั่งซ่อมๆเสร็จแล้ว สถานีวิทยุสื่อสารแม่ข่ายหลัก พร้อมใช้งานได้ตามปกติ จำนวน ๑๒ สถานี ( นอกจากนี้ยังมีแม่ข่ายย่อยอีกที่พร้อมปฏิบัติงานอยู่แล้ว )

Download Presentation

ผลรวมความก้าวหน้าสรุป ณ วันที่ 30 พฤษภาคม 2554

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลรวมความก้าวหน้าสรุป ณ วันที่ 30 พฤษภาคม 2554 • เครื่องรับ-ส่งวิทยุสื่อสาร ๖๐ วัตต์ ผส.ชป.8 ที่สั่งซ่อมๆเสร็จแล้ว • สถานีวิทยุสื่อสารแม่ข่ายหลัก พร้อมใช้งานได้ตามปกติ จำนวน ๑๒ สถานี ( นอกจากนี้ยังมีแม่ข่ายย่อยอีกที่พร้อมปฏิบัติงานอยู่แล้ว ) • การใช้บริการช่องทางผ่านระบบวิทยุสื่อสารนั้น ยังอยู่ในวงจำกัด • โครงการฯสถานีวิทยุสื่อสารตัวอย่างคือ ทุ่งสัมฤทธิ์ และ ลำตะคอง • กรมฯ โดย ศูนย์สารสนเทศฯ ได้จัดฝึกอบรม การใช้งานวิทยุสื่อสาร VHF/FM ให้กับพนักงานสื่อสาร และ หลักสูตรพนักงานสื่อสารสมทบ ซึ่งทาง สชป.8 ก็ได้ดำเนินการควบคู่กันไปแล้วเรียบร้อย • ฝ่ายสื่อสารฯ ได้ดำเนินการจัดทำนามเรียกขานทั้งหมดแล้ว โดยได้กำหนดตามตำแหน่งต่างๆ ตั้งแต่วันที่ ๒๒ มี.ค. ๕๔

  2. ข้อสังเกตุและพิจารณาสรุปภาพรวม สถานีวิทยุสื่อสาร โครงการฯในเขต สชป.8 1.ระบบสายส่ง-สายอากาศ, เสาส่งส่วนใหญ่มีสภาพยังพร้อมใช้งานได้ 85-90 % 2.สภาพเครื่องวิทยุรับ-ส่ง มีสภาพ 85 % เมื่อซ่อมบำรุงแล้วก็พร้อมใช้งานได้ทันที 3.ที่ทำการ สถานีวิทยุสื่อสารบางแห่งมีสภาพเก่า บางแห่งชำรุดทรุดโทรมอย่างมาก 4.สาเหตุที่ไม่มีการใช้งานส่วนใหญ่เครื่องเสียและไม่ได้ซ่อมบำรุงรักษา / ไม่มี จนท. 5.อุปกรณ์เครื่องมือสื่อสารไม่ได้อยู่ในห้องควบคุมอุณหภูมิที่เหมาะสมและถูกต้อง 6.บางแห่งไม่มีที่ทำการงานสื่อสารโดยตรง หรือไม่มีสัญญลักษณ์บอกว่ามีสถานี

  3. ข้อคิดเห็นและแนวทางการพัฒนาข้อคิดเห็นและแนวทางการพัฒนา • ระดับโครงการฯควรมีช่องทางการสื่อสาร ให้ครบทุกช่องทาง และมีเจ้าหน้าที่ๆ มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านนี้โดยตรง หรือผ่านการฝึกหัด/อบรม ระบบก็จะเกิดประสิทธิภาพสูงเมื่อเกิดสถานการณ์ฉุกเฉินหรือในภาวะปกติ ( ไฟฟ้า,อิเลคทรอนิคส์,คอมพิวเตอร์,สารสนเทศ เป็นต้น ) • ดังนั้นข้อมูลหรือข่าวสารจะถูกกลั่นกรองหรือจัดระเบียบเป็นระบบ และตรวจสอบได้พร้อมส่งออกตามช่องทางต่างๆที่มีไว้รองรับอยู่แล้วอย่างเหมาะสม • มีผู้ดูแลข่าวสารและสามารถรับผิดชอบได้ ซึ่งจะทำให้ข่าวสารถูกต้องชัดเจนและเป็นมาตรฐานเดียวกัน เมื่อข่าวออกจากแหล่งเดียวกัน

  4. ปัจจัยสนับสนุนการสื่อสาร (วิทยุสื่อสาร) ที่ทำให้มีประสิทธิภาพ จิตวิญญาณ/สามัญสำนึก ของผู้ทำหน้าที่เจ้าหน้าที่สื่อสาร พนักงานสื่อสาร พนักงานวิทยุ และผู้บริหารทุกภาคส่วนต้องใส่ใจและให้การสนับสนุนอย่างจริงจังและใช้ประโยชน์ให้ได้

  5. เมื่อทุกหน่วยงานหันมาช่วยรักษาระบบเอาไว้ระบบที่มีอยู่ก็จะถูกพัฒนาตามวาระเช่นเดียวกับเทคโนโลยีอื่นๆเมื่อทุกหน่วยงานหันมาช่วยรักษาระบบเอาไว้ระบบที่มีอยู่ก็จะถูกพัฒนาตามวาระเช่นเดียวกับเทคโนโลยีอื่นๆ ศูนย์หรือสถานีแม่ข่าย ANTENNA HSR 204 ศูนย์ควบคุม สำนักงาน , ลูกข่าย , ผู้ใช้งาน ภาพแสดงการเรียกติดต่อของวิทยุสื่อสารเฉพาะกลุ่มแบบติดตั้งประจำที่ ฝ่ายสื่อสารฯ สชป.8

  6. ข้อนำเสนอ 1.ควรแยกแยะข่าวและที่มาของข้อมูล แบบไหนที่ควรส่งผ่านวิทยุสื่อสาร เพื่อประหยัด ( ซึ่งจะนำเสนอเป็นแนวนโยบายอีกครั้ง ) 2.เครื่องมือสื่อสารควรจะอยู่ในห้องควบคุมอุณหภูมิ หากทำได้ ( เพื่อยืดอายุการใช้งานของเครื่องมือ/คน ) 3.การบริหารจัดการ จนท.สื่อสาร ที่เป็นเจ้าหน้าที่ชั่วคราวยังไม่ชัดเจนเท่าที่ควร มีบ้างไม่มีบ้าง ( ต้องผ่านการฝึกฝนที่ถูกวิธี ) 4.จากนี้ไปขอความร่วมมือให้โครงการฯแจ้งชื่อบุคคล-นามเรียกขาน มายัง สชป.8 เพื่อจะจัดทำเป็นทำเนียบแจกจ่าย เพื่อสะดวกในการติดต่อ

  7. แนวทางที่จะดำเนินการต่อไปแนวทางที่จะดำเนินการต่อไป • การปฏิบัติการครั้งต่อไปจะได้สำรวจและออกดำเนิน ซ่อมแซม ปรับปรุง สถานีลูกข่ายของโครงการฯต่างๆ ซึ่งจะได้แจ้งให้โครงการฯทราบอีกครั้ง พร้อมสำรวจความเรียบร้อยและจะนำเสนอนโยบาย การใช้วิทยุสื่อสารให้เป็นช่องทางการสื่อสาร โดยจัดสัมมนาในวันที่ จนท. มารับใบวุฒิบัตรจากการฝึกอบรม และทำข้อตกลงร่วมกันเสนอเป็นนโยบาย เพื่อให้เป็นแนวทางการปฏิบัติงานเช่นเดียวกันทุกโครงการฯ จากนั้นจะมีการรายงานการใช้งาน สถิติ หรือข้อมูลการใช้งานต่างๆ ให้เป็นประจำเดือนครบทุกโครงการฯต่อไป

  8. สถานีแม่ข่ายหลักแต่ละจังหวัดในเขต สชป.8 สชป.5อุดร สชป.692 สชป.7218 ศก.222 บร.209 นม. สชป.8204 สร.207 มูลล่าง

  9. ศรีสะเกษ ซับประดู่ สุรินทร์ มูลล่าง กส.2/08 (ห้วยขนาดมอญ ) จุดที่ตั้งแสดงสถานีสื่อสารในเขตฯ ฝ่ายสื่อสารฯ สชป.8

  10. บุรีรัมย์ 209 สุรินทร์ 207 ทุ่งสัมฤทธิ์ 205 ( ย้ายเสาและย้ายที่ทำการใหม่) มูลล่าง ( ย้ายที่ทำการใหม่ ) ลำตะคอง 214,214-2 HSR 204ยกเว้น นม. และ ก่อสร้าง 1 ศรีสะเกษ 222 ก่อสร้าง 1 นครราชสีมา เครือข่ายสถานีวิทยุสื่อสาร สชป.8 ลำพระเพลิง 213 ก่อสร้าง 2แม่ข่ายหลัก มูลบน 295 ลำปลายมาศ ลำนางรอง 216

  11. จากการทดสอบลงพื้นที่ใช้งานจริงเพื่อหาประสิทธิภาพของแม่ข่ายต่างๆจากการทดสอบลงพื้นที่ใช้งานจริงเพื่อหาประสิทธิภาพของแม่ข่ายต่างๆ HSR 213-3 HSR 204 ลูกข่ายต่างๆ โคราช 29.7 กม. อ.โชคชัย 37.9 กม. 26.6 กม. HSR 213 HSR 295 ฝ่ายสื่อสารฯ สชป.8 มูลบน ลำพระเพลิง

  12. เราเรียกการปฏิบัติการครั้งนี้ว่า “ การฟื้นฟูระบบวิทยุโทรคมนาคมและการสื่อสาร ” ให้กับ กรมชลประทาน เพื่อพัฒนาการช่องทางการสื่อสารและอำนวยความสะดวก สนับสนุน ในการบริหารจัดการน้ำ ในเขต สชป.8 ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป ฝ่ายสื่อสารฯ สชป.8

  13. ระบบเครือข่าย VPN

  14. Call 4083 , 4084

  15. Call 4083 , 4084 8

  16. การเชื่อมต่อ VPN ของโครงการฯก่อสร้าง และ โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาฯ

  17. Cisco Router 1841

  18. D-Link Switch 8 Port

  19. Cisco ATA (VoIP)

More Related