1 / 64

ประชาคมอาเซียน : การปรับตัวของภาคข้าราชการไทยกลุ่มจังหวัดอ่าวไทย

ประชาคมอาเซียน : การปรับตัวของภาคข้าราชการไทยกลุ่มจังหวัดอ่าวไทย. นายชาญ วิทย์ ไกรฤกษ์ และ รศ.ดร.ประภัสสร์ เทพชาตรี ดำเนินรายการโดย ดร . พิ สัณห์ นุ่นเกลี้ยง 21 ตุลาคม 2554. การก่อตั้งอาเซียน 1967 การประชุมสุดยอดบาหลี 1976 เวียดนามบุกยึดเขมร 1978

nile
Download Presentation

ประชาคมอาเซียน : การปรับตัวของภาคข้าราชการไทยกลุ่มจังหวัดอ่าวไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประชาคมอาเซียน : การปรับตัวของภาคข้าราชการไทยกลุ่มจังหวัดอ่าวไทย นายชาญวิทย์ ไกรฤกษ์ และ รศ.ดร.ประภัสสร์ เทพชาตรี ดำเนินรายการโดย ดร.พิสัณห์ นุ่นเกลี้ยง 21 ตุลาคม 2554

  2. การก่อตั้งอาเซียน 1967 • การประชุมสุดยอดบาหลี 1976 • เวียดนามบุกยึดเขมร 1978 • อาเซียนในยุคหลังสงครามเย็น

  3. Singapore Summit 1992 • AFTA , ARF • Bangkok Summit 1995 • SEANWFZ • SEA-10

  4. อาเซียนในยุควิกฤติเศรษฐกิจ อาเซียนในยุควิกฤติเศรษฐกิจ • Initiate for ASEAN Integration (IAI) • Bali Summit 2003 • ASEAN Community by2020/2015

  5. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน

  6. ASEAN Security Community Blueprint • Political Development • Shaping and Sharing of Norms • Conflict Prevention • Conflict Resolution • Peace Building

  7. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

  8. ASEAN Economic Community Blueprint • Single Market and Production Base

  9. Free flow of goods • Free flow of services • Free flow of investment (ASEAN Investment Area : AIA) • Freer flow of capital • Free flow of skilled labor

  10. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน

  11. ASEAN Socio-Cultural Community Blueprint • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม • ความยุติธรรมและสิทธิ • ส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม • การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน

  12. ประชาคมอาเซียน ผลกระทบ และการปรับตัวของไทย

  13. บทบาทในการตั้งรับ • การรวมกลุ่มประชาคมอาเซียนจะส่งผลให้เกิดความร่วมมือจะเพิ่มมากขึ้นในทุก ๆ ด้าน • การติดต่อระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ของประเทศสมาชิกอาเซียนจะเพิ่มมากขึ้น

  14. เกือบทุกกระทรวง ทบวง กรม จะต้องเกี่ยวข้องกับเรื่องของอาเซียนมากยิ่งขึ้น จึงต้องมีการปรับตัวเพื่อให้ทันกับประเทศอาเซียนอื่น ๆ • ไทยต้องทำงานให้ทันกับประเทศอาเซียนอื่นๆ โดยต้องมีความรู้เพิ่มเติม และพื้นฐานการศึกษาความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการปฏิบัติงานต้องมีมาตรฐานเพียงพอ

  15. ภาคส่วนต่าง ๆ จะเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น หน่วยงานของไทยต้องเปิดกว้างมากขึ้น • การกระจายความรู้พื้นฐานเรื่องอาเซียนมากขึ้น ซึ่งรวมถึงข้อตกลงที่สำคัญ ๆ รวมทั้งวิถีทางของอาเซียน หรือASEAN way

  16. การศึกษาและให้ความรู้เกี่ยวกับประเทศเพื่อนบ้านและประเทศสมาชิกอาเซียนควรมีมากขึ้น • การศึกษาและเรียนรู้ภาษาประเทศเพื่อนบ้านมากขึ้น

  17. การปรับเปลี่ยนทัศนคติ และ mentalityต่อ • ประเทศเพื่อนบ้านให้เป็นเชิงบวกมากขึ้น • การสร้างคนรุ่นใหม่ที่ให้ความสำคัญกับประเทศเพื่อนบ้าน พร้อมมองประเทศเพื่อนบ้านในเชิงบวก ไม่ใช่ศัตรู

  18. การศึกษาและเรียนรู้ภาษาอังกฤษในฐานะภาษากลางของอาเซียน • ไทยต้องรีบปรับปรุงประสิทธิภาพ • การเพิ่มจำนวนบุคลากรที่มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับประชาคมอาเซียน

  19. การพัฒนาและจัดฝึกอบรมในเรื่องเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนให้เป็นระบบ • การสร้างความมั่นใจเกี่ยวกับระดับความรู้ ความเข้าใจ และทักษะที่จำเป็นของบุคลากรที่มีหน้าที่โดยตรงในเรื่องอาเซียน

  20. การเตรียมความพร้อมสำหรับบุคลากรกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญในอาเซียน การเตรียมความพร้อมสำหรับบุคลากรกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญในอาเซียน • การเพิ่มจำนวนและเครือข่ายวิทยากรที่สามารถให้ความรู้ในเรื่องอาเซียน

  21. การเพิ่มทักษะความสามารถในการสื่อสาร และทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ • การสร้างทักษะการเจรจา ต่อรอง และกระบวนการทางการทูต • การมีทักษะเฉพาะทาง เฉพาะตำแหน่งที่เชี่ยวชาญ

  22. การต้องมีการปรับทัศนคติของไทยให้มอง • อาเซียนในเชิงบวก • การพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะ สมรรถนะ และทัศนคติที่เป็นสากล • การที่บุคลากรต้องมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของไทย เพื่อสามารถเชื่อมโยงถึงความสำคัญของประชาคมอาเซียนต่อไทยได้

  23. มีความรู้เกี่ยวกับการทำงานข้ามวัฒนธรรม (cross-cultural management) • การประสานงานระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ • ภายในประเทศอย่างมียุทธศาสตร์และบูรณาการ • การจัดตั้งหน่วยงานที่รับผิดชอบเรื่องอาเซียนโดยตรงในหน่วยงานต่าง ๆ

  24. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงประชาคมการเมืองและความมั่นคง

  25. ผลกระทบ • ให้ความสำคัญกับ ประชาธิปไตย และสิทธิมนุษยชนมากขึ้น • สิทธิเสรีภาพของประชาชน จะได้รับการปกป้องดีขึ้น • จะมีข้อตกลงมากขึ้น • ความขัดแย้งจะลดลง เพราะอาเซียนจะมีกลไกป้องกันและแก้ไขความขัดแย้ง

  26. การปรับตัว • การพัฒนาทางการเมือง สิทธิมนุษยชน : หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องเพิ่มบทบาท ผลักดันความร่วมมือด้านสิทธิมนุษยชน • การพัฒนาบรรทัดฐาน : หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องเตรียมพร้อมการจัดทำข้อตกลงระหว่างประเทศ • กลไกป้องกันและแก้ไขความขัดแย้ง : • หน่วยงานความมั่นคงต้องเตรียมพร้อม

  27. ประชาคมเศรษฐกิจ

  28. ผลกระทบ • การเปิดเสรีการเคลื่อนย้ายสินค้า • สินค้าบางตัว ไทยได้เปรียบ • อุตสาหกรรมบางอุตสาหกรรมไทยเสียเปรียบ

  29. สินค้าราคาถูกจากประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ข้าว • ภาพรวม : ไม่กระทบต่อไทยมากนัก เพราะมี AFTAอยู่แล้ว

  30. การเปิดเสรีภาคบริการ • ไทยน่าจะแข่งขันได้ • ไทยน่าจะได้ประโยชน์มากกว่า เสียประโยชน์

  31. การเปิดเสรีด้านการลงทุนและการเปิดเสรีด้านการลงทุนและ การเคลื่อนย้ายเงินทุน • ไทยน่าจะได้ประโยชน์ • โอกาสการลงทุนในประเทศอาเซียน

  32. การเปิดเสรีแรงงานมีฝีมือการเปิดเสรีแรงงานมีฝีมือ • แพทย์ • นักบัญชี • วิศวกร • พยาบาล • สถาปนิก

  33. โอกาสมากขึ้น แต่การแข่งขัน ก็มากขึ้นด้วย • ข้อจำกัดเรื่องภาษาอังกฤษ

  34. การปรับตัว • กลุ่มที่ 1 : หน่วยงานด้านเศรษฐกิจ • ของไทย • กลุ่มที่ 2 : ภาคเอกชน • กลุ่มที่ 3 : ประชาชน

  35. หน่วยงานเศรษฐกิจต้องศึกษาผลกระทบจากการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจ • หน่วยงานเศรษฐกิจต้องให้ความรู้แก่ • ภาคเอกชน และภาคประชาชน ถึงผลกระทบ • ทั้งในเชิงบวก และในเชิงลบ • ต้องเตรียมมาตรการรองรับต่อผลกระทบ

  36. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมประชาคมสังคมและวัฒนธรรม

  37. ผลกระทบและการปรับตัว • ความร่วมมืออาเซียน กระจายไปเกือบทุกหน่วยงาน จึงมีหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • หน่วยงานไทยต้องปรับตัวเพื่อเตรียมความพร้อม • มากขึ้น • ต้องเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรม

  38. บทบาทของไทย ในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน

  39. บทบาทในเชิงรุก • การที่ไทยมีบทบาทในการผลักดันและเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดตั้งประชาคมอาเซียน เพื่อช่วยทำให้ไทยกลับมามีบทบาทนำในอาเซียนอีกครั้ง • การผลักดันประเด็นต่าง ๆ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อไทย

  40. การที่ไทยเข้าไปมีบทบาทในการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน • การผลักดันให้อาเซียนเป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลางอย่างแท้จริง

  41. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน

  42. ปัญหาด้านการเมืองความมั่นคงปัญหาด้านการเมืองความมั่นคง • ปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง • กรณีพิพาทเรื่องพรมแดน • ประเทศสมาชิกยังมีความไม่ไว้วางใจซึ่งกันและ กัน

  43. ขาดความร่วมมือทางด้านการทหาร ขาดความร่วมมือทางด้านการทหาร • ยุทธศาสตร์ทหารมองเพื่อนบ้านเป็นศัตรู

  44. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

  45. ปัญหาด้านเศรษฐกิจ • ช่องว่างระหว่างประเทศรวยและประเทศจน • ประเทศอาเซียนยังมองประเทศสมาชิก อื่นเป็นคู่แข่งทางเศรษฐกิจ

  46. ปัญหาบูรณาการในเชิงลึก • ปัญหาบูรณาการในเชิงกว้าง • ปัญหาด้านโครงสร้าง • ปัญหาการทำให้ประชาคมอาเซียนเป็น ประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง

  47. ประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน

  48. ปัญหาด้านสังคมและวัฒนธรรมปัญหาด้านสังคมและวัฒนธรรม • ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน • ความแตกต่างทั้งในเรื่องระบบการเมือง ระบบ เศรษฐกิจ ระบบวัฒนธรรม ศาสนา และเชื้อชาติ • ปัญหาการมีอัตลักษณ์ร่วมกัน

  49. ปัญหาประชาชนยังมีความไม่ไว้วางใจซึ่งกันปัญหาประชาชนยังมีความไม่ไว้วางใจซึ่งกัน และกัน • ปัญหาด้านโครงสร้าง • ปัญหาการทำให้ประชาคมอาเซียนเป็น ประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง • ปัญหาการที่ประชาชนไม่มีความรู้เรื่องอาเซียน

  50. ข้อเสนอการทำให้อาเซียนเป็นองค์กรของประชาชนอย่างแท้จริงข้อเสนอการทำให้อาเซียนเป็นองค์กรของประชาชนอย่างแท้จริง

More Related