00:00

Sound Frequency Separation for Speakers

Efficiently separating sound frequencies is crucial for high-quality audio output from speakers. Different types of speakers are designed to respond to specific frequency ranges, such as low, mid, and high frequencies. By utilizing circuits that split the sound frequencies effectively, each speaker can accurately reproduce the intended audio signals. This separation helps prevent complications and ensures optimal sound quality for each speaker type.

vedri
Download Presentation

Sound Frequency Separation for Speakers

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. และการป ้ องกันล าโพง11 การแยกเสียงทุ้มแหลม

  2. การแยกเสียงทุ้มแหลมให้ล าโพง สัญญาณเสียงที่ก าเนิดขึ้ นมามีย่านความถี่ประมาณ 20 – 20,000 Hz เป็นความถี่ที่แบ่งออกได้เป็น 3 ย่านสัญญาณเสียง คือ ความถี่ต ่าหรือเสียงทุ้ม ความถี่กลางหรือเสียงกลาง และความถี่สูงหรือ เสียงแหลม การแบ่งย่านความถี่ออกมานี้เพื่อน าไปใช้ในการขับล าโพง แต่ละชนิดให้เกิดเสียงออกมาตามคุณสมบัติการตอบสนองความถี่ของ ชนิดล าโพงนั้น

  3. การแยกเสียงทุ้มแหลมให้ล าโพง เพราะด้วยชนิดล าโพงที่ผลิตออกมาใช้งานจะสามารถให้การ ตอบสนองต่อย่านความถี่สัญญาณเสียงแตกต่างกัน เมื่อน าล าโพงแต่ละ ชนิดไปใช้ในการรับสัญญาณเสียงทุกความถี่เหมือนกัน จะเกิดปัญหา ขึ้นต่อคุณภาพสัญญาณเสียงที่เปล่งออกมาของล าโพงแต่ละชนิด

  4. การแยกเสียงทุ้มแหลมให้ล าโพง การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น สามารถ ท าได้โดยการก าหนดย่านความถี่ สัญญาณเสียงที่ป้อนไปให้ล าโพงแต่ละ ชนิด มีความถี่ถูกต้องตามการ ตอบสนองความถี่เสียงของล าโพงชนิด นั้น เพื่อจ ากัดย่านความถี่สัญญาณเสียง ที่ล าโพงต้องท างานให้แคบลงอยู่ใน ย่านความถี่ที่เหมาะสม

  5. การแยกเสียงทุ้มแหลมให้ล าโพง วงจรแยกเสียงทุ้มแหลมที่ผลิตขึ้นมาใช้งานมี 2 ชนิด คือ ชนิด แรกใช้แยกความถี่สัญญาณเสียงออก 2 ช่วงความถี่ แยกออกเป็นย่าน ความถี่ต ่าและย่านความถี่สูง ชนิดที่สองใช้แยกความถี่สัญญาณเสียง ออก 3 ช่วงความถี่ แยกออกเป็นย่านความถี่ต ่า ย่านความถี่กลาง และ ย่านความถี่สูง โดยก าหนดจุดความถี่ตัดข้ามของวงจรแยกเสียงทุ้ม แหลมตามค่าความถี่เหมาะสมที่ถูกก าหนดไว้ น ามาต่อคั่นกลาง ระหว่างเอาต์พุตเครื่องขยายเสียงกับล าโพง

  6. วงจรแยกเสียงทุ้มแหลมให้ล าโพง 1 ล าดับที่ 1 (Order 1) ใช้จุดตัดความลาดเอียงของเส้นกราฟที่ 6 dB / ออกเทฟ เป็น วงจรแยกเสียงทุ้มแหลมแบบเบื้ องต้นจัดวงจรแบบง่าย โดยใช้ คุณสมบัติในการท างานของตัวเหนี่ยวน า และตัวเก็บประจุ ก าหนด ความถี่ผ่านล าโพง L1 C1 C1 L1 + + + + + + - - - - - - เสียงทุ้ม เสียงแหลม เสียงกลาง

  7. วงจรแยกเสียงทุ้มแหลมให้ล าโพง 2 ล าดับที่ 2 (Order 2) ใช้จุดตัดความลาดเอียงของเส้นกราฟที่ 12 dB / ออกเทฟ เป็น แบบที่นิยมใช้งานทั่วไป ใช้คุณสมบัติในการท างานของตัวเหนี่ยวน า และตัวเก็บประจุ ก าหนดความถี่ผ่านล าโพงเช่นเดียวกัน โดยเพิ่มตัว เหนี่ยวน า และตัวเก็บประจุ ให้ล าโพงแต่ละชนิดเพิ่มขึ้น C2 L2 L2 C2 + + + + + + L2 C2 L2 C2 - - - - - - เสียงทุ้ม เสียงแหลม เสียงกลาง

  8. วงจรแยกเสียงทุ้มแหลมให้ล าโพง 3 ล าดับที่ 3 (Order 3) ใช้จุดตัดความลาดเอียงของเส้นกราฟที่ 18 dB / ออกเทฟ เป็น แบบที่นิยมใช้ในงานที่ต้องการคุณภาพสูง ใช้คุณสมบัติในการท างาน ของตัวเหนี่ยวน า และตัวเก็บประจุ ก าหนดความถี่ผ่านล าโพงโดยเพิ่ม ตัวเหนี่ยวน า และตัวเก็บประจุให้ล าโพงแต่ละชนิดเพิ่มมากขึ้นกว่าแบบ ล าดับที่ 2 อีกหนึ่งตัว L3 C4 C5 L4 C4 C5 L3 L4 + + + + + + L5 L5 C3 C3 - - - - - - เสียงทุ้ม เสียงแหลม เสียงกลาง

  9. ตารางกราฟบอกค่า L และ C 20mH 20mF 10mF 5mF 2.5mF 1.25mF 10mH 5mH 2.5mH 1.25mH 40mF 0.6mH 80mF 0.3mH 160mF 32W 32W 0.15mH 320mF 0.075mH 16W 16W 8W 8W (C) (L) 4W 4W (Z) (Z) 125 250 500 1k 2k 4k 8k , fC (Hz)

  10. โครงสร้างวงจรแยกเสียงทุ้มแหลมโครงสร้างวงจรแยกเสียงทุ้มแหลม ชนิด 2 ทางและ 3 ทาง 1 วงจรแยกเสียงทุ้มแหลมชนิดแยกเสียง 2 ทาง ในล าดับที่ 1 + C1 L1 0.6mH 10mF + + 8W 8W - - - วงจร อุปกรณ์

  11. โครงสร้างวงจรแยกเสียงทุ้มแหลมโครงสร้างวงจรแยกเสียงทุ้มแหลม ชนิด 2 ทางและ 3 ทาง 2 วงจรแยกเสียงทุ้มแหลมชนิดแยกเสียง 2 ทาง ในล าดับที่ 2 + C2 L2 0.85mH 7mF + + C2 L2 8W 8W 7mF 0.85mH - - - วงจร อุปกรณ์

  12. โครงสร้างวงจรแยกเสียงทุ้มแหลมโครงสร้างวงจรแยกเสียงทุ้มแหลม ชนิด 2 ทางและ 3 ทาง 3 วงจรแยกเสียงทุ้มแหลมชนิดแยกเสียง 3 ทาง ในล าดับที่ 1 + L1 C1 L1 0.6mH C1 10mF 0.6mH 10mF + + + 8W 8W 8W - - - - วงจร อุปกรณ์

  13. โครงสร้างวงจรแยกเสียงทุ้มแหลมโครงสร้างวงจรแยกเสียงทุ้มแหลม ชนิด 2 ทางและ 3 ทาง 4 วงจรแยกเสียงทุ้มแหลมชนิดแยกเสียง 3 ทาง ในล าดับที่ 2 + L2 C2 L2 0.85mH 0.85mH 7mF C2 C2 7mF 7mF + + + C2 L2 L2 8W 8W 8W 7mF 0.85mH 0.85mH - - - - วงจร อุปกรณ์

  14. วงจรป ้ องกันล าโพงช ารุดเสียหาย วงจรป้องกันล าโพง (Loudspeaker Protection Circuit) เป็นวงจร ที่ท าหน้าที่ป้องกันการช ารุดเสียหายของล าโพง ที่เกิดจากการท างาน ผิดปกติของเครื่องขยายเสียงแบบคอมพลีเมนตารีชนิดไม่มีตัวเก็บ ประจุที่เอาต์พุต (OCL) เพราะจากคุณสมบัติในการท างานของเครื่อง ขยายเสียงชนิด OCL ที่จ าเป็นต้องจ่ายแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงให้วงจร ชนิด 3 ขั้ว คือ บวก ลบ กราวด์ และที่เอาต์พุตของเครื่องขยายเสียงจะ ถูกต่อโดยตรงเข้ากับล าโพงลงกราวด์

  15. วงจรป ้ องกันล าโพงช ารุดเสียหาย ท าให้ในสภาวะการท างานปกติ ของเครื่องขยายเสียงชนิด OCL ที่เอาต์พุต เทียบกับกราวด์ในขณะไม่ได้ขยาย สัญญาณเสียง จะมีแรงดันไฟฟ้ า กระแสตรงจ่ายออกมา 0 V หรือมากที่สุด ไม่ควรเกิน 0.3 V ซึ่งไม่มีผลต่อการท า ให้ล าโพงเกิดการช ารุดเสียหาย ถือเป็น สภาวะปกติของเครื่องขยายเสียงชนิด OCL ทุกเครื่อง

  16. วงจรป ้ องกันล าโพงช ารุดเสียหาย L L GND L L OCL GND (GND) R R R R +VCC +VCC GND GND -VCC การต่อวงจรป้องกันล าโพงเข้ากับเครื่องขยายเสียงคอมพลีเมนตารีชนิด OCL

  17. วงจรป ้ องกันล าโพงช ารุดเสียหาย L L OCL L GND R R R D1=1N4001 AC 18V DC+24V R2 56kW D3=1N4001 RY1 24V R4 = 5.6kW C2 50V + LED1 100mF R1 56kW R5 56kW C4 50V 8 2 7 R6 8.2kW + C1 + U1 47mF R3 220mF 50V mPC1237 10kW 4 + 6 C3 D2=1N4001 4.7mF 1 3 5 50V วงจรป้องกันล าโพง

More Related