1 / 20

วิกฤติการเงินโลก VS วิกฤติเศรษฐกิจไทย

วิกฤติการเงินโลก VS วิกฤติเศรษฐกิจไทย. โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานกรรมการ V-SERVE. 48-2008. เกิดอะไรในภาคการเงินของสหรัฐฯ. 1. ราคาอสังหาที่เกินราคา ( Asset Inflation Price). Sub-Prime หนี้ด้อยคุณภาพของ สภาบันการเงิน USA. 2. การทำกำไรในอนุพันธ์ตราสารหนี้ / CDOs. 3.

Download Presentation

วิกฤติการเงินโลก VS วิกฤติเศรษฐกิจไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิกฤติการเงินโลกVSวิกฤติเศรษฐกิจไทยวิกฤติการเงินโลกVSวิกฤติเศรษฐกิจไทย โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ ประธานกรรมการ V-SERVE 48-2008

  2. เกิดอะไรในภาคการเงินของสหรัฐฯเกิดอะไรในภาคการเงินของสหรัฐฯ 1. ราคาอสังหาที่เกินราคา (Asset Inflation Price) Sub-Prime หนี้ด้อยคุณภาพของ สภาบันการเงิน USA 2. การทำกำไรในอนุพันธ์ตราสารหนี้ / CDOs 3. การทำกำไรของ Hudge Fund & Bond yield ตลาดน้ำมัน / ตลาดโภคภัณฑ์ / ตลาดหุ้น 4. สถาบันการเงินของ USA เข้าไปปล่อย และค้ำประกันสินเชื่อเกินขนาด 5. สถาบันการเงิน / สถาบันประกันชีวิตในต่างประเทศ เข้าไปซื้ออนุพันธ์ เพื่อหวังอัตราดอกเบี้ยที่สูง (Moral Hazard)

  3. การล้มตามกันของสถาบันการเงินสหรัฐฯการล้มตามกันของสถาบันการเงินสหรัฐฯ Hamburger Crisis 1. Bear Stern 29,000 ล้านเหรียญ 2. Fanie May / Freddie Mac 200,000 ล้าน USD 3. Leh Man Brother 6.13 แสนล้าน USD TOXIC ASSET หนี้เน่า วิกฤติการเงินสหรัฐฯ 4. AIG 85,000 ล้าน USD (FED 79%) 5. Goldman Sack ขาดสภาพคล่อง (Mitsubishi Bank 25%) 6. Merlin Linh / BOA ใช้เงิน 50,000 ล้าน USD 7. Morgan Staley ควบกับ BOA ใช้เงิน 20,000 ล้าน USD

  4. วิกฤติการเงินโลก Global Credit Crunch 1. เยอรมัน แผนฟื้นฟู 6.93 แสนล้าน USD Global Rescue Plan แผนฟื้นฟู เศรษฐกิจของโลก 2. ในยุโรปต้องเยี่ยวยา 350,000 ยูโร 3. อังกฤษอัดฉีด 691,000 ล้าน USD 4. ญี่ปุ่น อัดฉีดสภาพคล่อง 29.5 ล้านล้านเยน 5. เกาหลี อัดฉีดสภาพคล่อง 80,000 ล้าน USD 6. สหรัฐอเมริกา อัดฉีด 1.8-2.2 ล้านล้าน USD 7. ประเทศไทย 1.22 ล้านล้านบาท ประกันเงินฝากทั้งระบบ 3 ปี 8. ASIAN + 3 ตั้งกองทุนฉุกเฉิน 80,000 ล้าน USD เพื่อป้องกันการแพร่กระจายวิกฤติการเงินของโลก

  5. สถานะวิกฤติเศรษฐกิจโลกเต็มรูปแบบสถานะวิกฤติเศรษฐกิจโลกเต็มรูปแบบ ใกล้เคียง The Great Depression 1. การล้มละลายและปิดกิจการของสถาบันการเงิน ใน G7 จะยังคงดำเนินต่อไป 2. ทิศทางของหุ้น / ตราสารหนี้ / กองทุน ไม่ตอบสนองต่อมาตรการ Rescue Plan Bill Global Economic Crisis 3. โลกกำลังเข้าสู่การขาดสภาพคล่อง (World Liquidate) 4. เศรษฐกิจ สหรัฐอเมริกา / ญี่ปุ่น / ยุโรป / จะหดตัว สูงสุดในรอบ 70 ปี 5. ราคาน้ำมันและโภคภัณฑ์เกษตรหดตัวรุนแรงไปถึง Q2 ปี 2009 6. การจ้างงานและบริโภคของโลกจะลดลง

  6. การขยายตัวทางเศรษฐกิจ (GDP) ของประเทศเป้าหมายส่งออกประเทศ G7 เฉลี่ย 0.033% ตลาดใหม่เฉลี่ย 5.7%

  7. ทิศทางราคาน้ำมัน • ทิศทางราคาน้ำมันขาลง ช่วงกรกฎาคม 147 USD / Barrel และ 24 ตุลาคม 2551 ราคา 61-63 USD / Barrel ลดลง 57.1% • ราคาน้ำมันที่ลดลงเกิดจากวิกฤติเศรษฐกิจโลก น้ำมันที่กลั่นออกมาไม่มีตลาดรองรับทั้งดีเซล เบนซิน และน้ำมันสำรองของสหรัฐอเมริกาอยู่ในระดับสูง โดย OPEC จะลดกำลังการผลิตลง 1.5 ล้านบาเรล / วัน • ราคาน้ำมันในตลาดโลก Q4/2008 – Q1/2009 หากไม่มีเหตุผิดปกติ จะเคลื่อนไหวอยู่ที่ประมาณระดับราคา 75-85 USD/Barrel ซึ่งระดับราคาขายปลีกดีเซล ประมาณ 24.50 – 26.00 บาทต่อลิตร

  8. ทิศทางตลาดหุ้น

  9. ผลกระทบเศรษฐกิจไทย 1 ความเสี่ยงจากปัจจัยการเมืองและสังคมแตกแยกที่ยืดเยื้อ 2 ความเสี่ยงจากเศรษฐกิจโลกที่หดตัว 3 วิกฤติความเชื่อมั่นของรัฐบาล / ความมั่นคงชายแดน 4 มาตรการของรัฐบาลแก้ไขไม่ตรงจุด / มาตรการรายวัน

  10. ทิศทางความเสี่ยงไทยจากเศรษฐกิจโลกทิศทางความเสี่ยงไทยจากเศรษฐกิจโลก (Q4/2008 – Q1/2009) 1 หุ้นไทยอิงกับหุ้นในตลาดหลักของโลก ซึ่งดัชนีร่วง 50-54% ต่ำสุดในรอบ 5 ปี หุ้นยังมีแนวโน้ม ตกอย่างรุนแรง 2 เศรษฐกิจโลกมีผลต่อการท่องเที่ยว 4.7% (AFP) แต่ปัญหาภายในประเทศเป็นปัจจัยหลัก กระทบเศรษฐกิจฐานรากและอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวลด 20% มูลค่า 80,000 ล้านบาท 3 ส่งออกอยู่ใน GDP 67% เป็นรายได้หลักของประเทศ กำลังซื้อประเทศเป้าหมายหดตัว ส่งออกตก 18% มูลค่า 1.1 ล้านล้านบาท 4 ราคาสินค้าเกษตรปรับลดตัวลงตามราคาน้ำมัน และการชะลอตัวของการเก็งกำไรในโภคภัณฑ์ล่วงหน้า ส่งผลต่อรายได้เกษตรและปัญหาราคาพืชตกต่ำ ราคาสินค้าเกษตรตก ประมาณ 21% ไปจนถึง Q1 / 2009

  11. ทิศทางความเสี่ยงไทยจากเศรษฐกิจโลกทิศทางความเสี่ยงไทยจากเศรษฐกิจโลก (Q4/2008 – Q1/2009) 5 เศรษฐกิจไทยจะเข้าสู่การชะลอตัว ปี 2552 ขยายได้ 4.0% การบริโภคลดลง การแข่งขันตลาดภายในจะรุนแรง 6 ดอกเบี้ย ธปท. จะทรงตัวที่ 3.50 – 3.75 แต่ดอกเบี้ยธนาคารพาณิชจะมีแนวโน้มสูงขึ้น SME การเข้าถึงแหล่งเงินจะยากขึ้น , ธนาคารกับธนาคารก็ไม่เชื่อกัน สภาพคล่องที่ลดลงและเงินตึง 7 เงินเฟ้อ ปี 2551 = 6.6% เงินเฟ้อ ปี 2552 = 3-4% ราคาน้ำมันและราคาสินค้าเกษตรจะลดลง เงินเฟ้อจะลดลงตามทิศทาง ของราคาน้ำมันขาลง ไปจนถึงปลาย Q1 ปี 2552 8 ปัญหาแรงงานและปัญหาการเรียกร้องจากภาคเกษตร และปัญหาสังคมแตกแยกจะรุนแรง เสถียรภาพของรัฐบาล จะไม่มั่นคง Q1-Q2/2009 9 เงินบาทไทยอิงกับค่าเงินสหรัฐฯจะแข็งค่าในระยะสั้นๆ จากเงินที่ Inflow หลังจากนั้นทั้ง USD / Baht จะอ่อนค่า ไปตามสภาวะเศรษฐกิจจริง ประมาณ 34.5-35.5 บาท อัตราแลกเปลี่ยนจะผันผวน ไปตามสกุลเงินหลัก

  12. ตัวอย่างสถาบันการเงินของไทยซึ่งเกี่ยวข้องอนุพันธ์ตราสารหนี้ของสหรัฐฯตัวอย่างสถาบันการเงินของไทยซึ่งเกี่ยวข้องอนุพันธ์ตราสารหนี้ของสหรัฐฯ

  13. ตัวอย่างของกลุ่มอุตสาหกรรมที่ (อาจ) ได้รับผลกระทบ ที่มา : ศูนย์วิจัยกสิกรไทย

  14. การขยายตัวการส่งออกปี 2552 เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 10-12 (197,600 ล้านเหรียญสหรัฐฯ) เป้าหมายการส่งออก 197,600 เหรียญสหรัฐฯ ขยายตัว 10% (..) สัดส่วนตลาด ที่มา : กรมส่งเสริมการส่งออก

  15. ตัวอย่างราคาสินค้าเกษตรที่ตกต่ำ 21%

  16. 6 มาตรการแก้ปัญหาวิกฤติการเงินของรัฐบาลสมชาย วงษ์สวัสดิ์ • อัดฉีดตลาดทุนซื้อหุ้นที่มีปัญหา 142,000 ล้านบาท • ขยายสินเชื่อเสริมสภาพคล่อง (5%) 400,000 ล้านบาท ให้ ธกส. / ธนาคารอาคารสงเคราะห์ / SME Bank ขยายสินเชื่อ 150,000 ล้านบาท • มาตรการเร่งรัดส่งออกโดยใช้งบ 300,000 ล้านบาท มาตรการส่งเสริมการท่องเที่ยวใช้งบ 60,000 ล้านบาท • มาตรการเร่งรัดใช้จ่ายงบประมาณเพิ่ม 180,000 ล้านบาท ผ่านกองทุนหมู่บ้านและ SML • เร่งรัดโครงการเมกะโปรเจกต์และเพิ่มงบลงทุน 100,000 ล้านบาท • เข้าร่วมโครงการ ASEM 7 ณ ประเทศจีนตั้งกองทุน 80,000 ล้าน USDช่วยเหลือประเทศที่มีปัญหาสภาพคล่อง โดยรัฐบาลไทยประกันเงินฝากต่อไปอีก 3 ปี

  17. แนวทางของรัฐในการลดผลกระทบจากเศรษฐกิจโลกถดถอยแนวทางของรัฐในการลดผลกระทบจากเศรษฐกิจโลกถดถอย • รัฐบาลจะต้องมีแผนป้องกันความเสี่ยงทางเศรษฐกิจที่เป็นวาระแห่งชาติ มีงบประมาณ / ยุทธศาสตร์ / กฎหมาย / การบูรณาการ / เจ้าภาพที่ชัดเจน • คณะกรรมการกำกับนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจ ทั้งด้านส่งออกและตลาดภายในและติดตามแผนป้องกันความเสี่ยงฯ โดยให้มี กกร. เข้าร่วม • การดูแลอัตราแลกเปลี่ยนไม่ให้ผันผวนและมาตรการในการดูแลให้เกิดความเชื่อมั่นในระบบธนาคารและประกันชีวิต • ต้องสร้างความเชื่อมั่น โดยให้มีเม็ดเงินที่จะเสริมสภาพคล่องในระบบอย่างพอเพียงรวมทั้ง สร้างความเชื่อมั่นระหว่างธนาคารด้วยกัน • มาตรการที่จะช่วยเหลือ SME และผู้ประกอบการรายย่อยในต่างจังหวัด เพื่อให้เข้าถึงแหล่งเงินได้จริง

  18. ปัญหาทางเศรษฐกิจที่จะเกิดกับภาคธุรกิจโดยรวมในปี 2552 • เศรษฐกิจปี 2552 อย่างน้อยครึ่งปีแรก จะชะลอตัวตามเศรษฐกิจโลก และวิกฤติสภาวะการเมืองในประเทศที่จะยังคงยืดเยื้อ , ท่องเที่ยว , หุ้น , สินค้าเกษตร จะได้รับผลกระทบอย่างแรง • ส่งออกจะชะลอตัวทั้งเชิงปริมาณและราคาเพราะตลาดสหรัฐฯ , ญี่ปุ่น , ยุโรปส่งออกจะขยาย 2-3% แต่อาจได้รับอานิสงค์จากปัญหาคุณภาพสินค้าจีน และค่าเงินบาทที่มีทิศทางทรงตัวในอัตราที่อ่อนค่า โดยส่งออกจะขยาย 10-12% • การบริโภคที่ชะลอตัวจะทำให้การขายในประเทศ มีการแข่งขันกันรุนแรง ทั้งลด-แลก-แจก-แถม และการทำกำไรจะทำได้ลำบาก ยกเว้น บางธุรกิจที่เป็น “Market Niche” • ระยะเวลาการปล่อยหนี้จะยาวขึ้น และตามหนี้ยาก

  19. ปัญหาทางเศรษฐกิจที่จะเกิดกับภาคธุรกิจโดยรวมในปี 2552 • ตลาดในต่างจังหวัด เงินจะตึง เพราะรับผลกระทบทั้งจากราคาเกษตรที่ตกต่ำและการท่องเที่ยวที่จะยังซบเซาไปจนถึง Q3/2009 โดยเฉพาะจังหวัดที่ต้องพึ่งพาการท่องเที่ยว จะได้รับผลกระทบมากกว่า แต่โครงการกระตุ้นเศรษฐกิจรากหญ้าของรัฐบาล อาจมีส่วนช่วยอยู่บ้าง • การปล่อยสินเชื่อของสถาบันการเงินจะเพิ่มกฎเกณฑ์และเลือกลูกค้า ทิศทางดอกเบี้ยจะสูงแต่ดอกเบี้ยจะคงที่ในอัตรา 3.5-3.75 ทำให้ SME และธุรกิจที่มีปัญหา P/E จะเข้าถึงแหล่งทุนได้ลำบาก • แรงงานใหม่ที่จะเข้าสู่ระบบในช่วงปี 2552 จะหางานได้ยากขึ้น • เศรษฐกิจของไทยจะชะลอตัวยาว โดย สศช. คาดหมายว่าอัตราเศรษฐกิจเติบโต ปี 2552-2553 เฉลี่ย 3-4% และปี 2554 จะกลับมาเติบโตปกติที่อัตรา 5-6%

  20. END

More Related