1 / 42

เครื่องมือวิจัย ( Instruments )

เครื่องมือวิจัย ( Instruments ). ความหมายของข้อมูล ข่าวสารหรือข้อเท็จจริงที่อาจเป็นตัวเลขหรือ ไม่เป็นตัวเลขก็ได้. ลักษณะของข้อมูล - ข้อมูลเชิงปริมาณ : ข้อมูลที่เป็นตัวเลข - ข้อมูลเชิงคุณภาพ : ข้อมูลที่ไม่เป็นตัวเลข. แหล่งที่มาของข้อมูล - แหล่งปฐมภูมิ - แหล่งทุติยภูมิ.

teness
Download Presentation

เครื่องมือวิจัย ( Instruments )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เครื่องมือวิจัย ( Instruments )

  2. ความหมายของข้อมูล ข่าวสารหรือข้อเท็จจริงที่อาจเป็นตัวเลขหรือ ไม่เป็นตัวเลขก็ได้ ลักษณะของข้อมูล - ข้อมูลเชิงปริมาณ : ข้อมูลที่เป็นตัวเลข - ข้อมูลเชิงคุณภาพ : ข้อมูลที่ไม่เป็นตัวเลข แหล่งที่มาของข้อมูล - แหล่งปฐมภูมิ - แหล่งทุติยภูมิ

  3. ลักษณะที่ดีของข้อมูล • มีความถูกต้อง • มีความทันสมัย • มีความสมบูรณ์ครบถ้วน • มีความสอดคล้อง • มีความชัดเจนเป็นรูปธรรม • สามารถเปรียบเทียบได้

  4. กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูลกระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล 1. การวางแผนการเก็บรวบรวมข้อมูล - การศึกษาปัญหาวิจัย ตัวแปร วัตถุประสงค์ของการวิจัย - ศึกษาประชากร/กลุ่มตัวอย่าง - กำหนดวิธีการ&เครื่องมือวิจัย - การเก็บข้อมูลจากเอกสาร - การเก็บข้อมูลจากภาคสนาม - การสร้างเครื่องมือวิจัย - การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ 2. การดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล 3. การติดตามและประเมินผลการเก็บรวบรวมข้อมูล - ความถูกต้อง&ความเชื่อถือได้ของข้อมูล

  5. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร • หนังสือทั่วไป – ตำรา คู่มือฯลน • หนังสืออ้างอิง • รายงานการวิจัย บทความวิจัย วิทยานิพนธ์ • วารสาร จุลสาร • เอกสารทางวิชาการ • ไมโครฟิลม์ เอกสารอื่นๆ

  6. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากภาคสนามการเก็บรวบรวมข้อมูลจากภาคสนาม • การสัมภาษณ์ • การสังเกต • การใช้แบบสอบถาม • การทดลอง • การทดสอบ • การสนทนากลุ่ม

  7. ลักษณะข้อมูล เครื่องมือ และวิธีการรวบรวมข้อมูล ตัวแปร/ตัวชี้วัด เครื่องมือ วิธีการ ความรู้ความสามารถ ทางสมอง แบบทดสอบ การทดสอบ ความรู้สึก/ ความคิดเห็น แบบสอบถาม/ แบบสัมภาษณ์ การสอบถาม/ การสัมภาษณ์ พฤติกรรม การปฏิบัติ แบบสังเกต แบบประเมิน การสังเกต

  8. ธีการรวบรวมข้อมูล วิ • การรวบรวมข้อมูล จากเอกสาร • การสังเกต • การสอบถาม • การสัมภาษณ์ • การทดสอบ • การประชุม สัมมนา • การใช้เทคนิค เดลไฟล์

  9. เครื่องมือรวบรวมข้อมูลเครื่องมือรวบรวมข้อมูล • แบบบันทึกข้อมูล • แบบสังเกต • แบบสอบถาม • แบบสัมภาษณ์ • แบบทดสอบ

  10. เครื่องมือ ข้อดี ข้อจำกัด แบบสัมภาษณ์ - ได้ข้อมูลจากแหล่ง โดยตรง - สามารถปรับ คำถามได้ ถ้าผู้ตอบไม่เข้าใจ - ใช้เวลา แรงงาน และ ค่าใช้จ่ายมาก

  11. เครื่องมือ ข้อดี ข้อจำกัด แบบสอบถาม - ใช้ง่าย สะดวก ประหยัด - เหมาะที่จะใช้เก็บ ข้อมูลจากกลุ่ม ขนาดใหญ่ - ความเชื่อถือได้ ของข้อมูลต่ำกว่า วิธีอื่น - ความสามารถ ในการอ่าน เขียนของผู้ตอบ

  12. เครื่องมือ ข้อดี ข้อจำกัด แบบบันทึกข้อมูล - ใช้ง่าย สะดวก ประหยัด - ไม่รบกวน ผู้ให้ข้อมูล - ข้อมูลที่ได้ อาจไม่ตรง วัตถุประสงค์ ไม่ทันสมัย แบบสังเกต - ได้ข้อมูลจากแห่ง โดยตรง - ไม่รบกวน ผู้ให้ข้อมูล - ใช้เวลา และ ค่าใช้จ่ายมาก แบบทดสอบ - ใช้ได้สะดวก - สร้างยาก

  13. ข้อพิจารณาในการเลือกเครื่องมือรวบรวมข้อมูลข้อพิจารณาในการเลือกเครื่องมือรวบรวมข้อมูล 1. วัตถุประสงค์ของการวิจัย/ประเมิน 2. ตัวแปรที่ศึกษา 3. คุณลักษณะของเครื่องมือ 4. ลักษณะของกลุ่มเป้าหมาย 5. ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล 6. งบประมาณ

  14. กระบวนการสัมภาษณ์ • การวางแผน&เตรียมการสัมภาษณ์ • ดำเนินการสัมภาษณ์ • ปิดการสัมภาษณ์ • ประเมินผลการสัมภาษณ์

  15. ขั้นการวางแผน/เตรียมการขั้นการวางแผน/เตรียมการ 1. กำหนดวัตถุประสงค์ของการสัมภาษณ์ 2. กำหนดบุคคล/พื้นที่ที่จะไปสัมภาษณ์ 3. ทาบทาม เพื่อกำหนดวัน เวลา สถานที่ 4. เตรียมเครื่องมือที่จะใช้ 5. ถ้าจะต้องอาศัยผู้อื่นช่วยสัมภาษณ์ ฝึกอบรม/ชี้แจง - วิธีการ&ขั้นตอนการสัมภาษณ์ - วัตถุประสงค์ของการวิจัย - แบบสัมภาษณ์ - วิธีการจดบันทึกผลการสัมภาษณ์

  16. ขั้นดำเนินการสัมภาษณ์ขั้นดำเนินการสัมภาษณ์ • กล่าวทักทาย &แนะนำตัวเอง • บอกวัตถุประสงค์&ขอบเขตของการสัมภาษณ์ • สร้างความมั่นใจให้กับผู้ให้สัมภาษณ์ • ขออนุญาตก่อนว่าจะบันทึกผลการสัมภาษณ์ • ทำการสัมภาษณ์โดยเริ่มจากคำถามง่ายๆก่อน • บันทึกผลการสัมภาษณ์อย่างละเอียดทันทีที่ทำได้

  17. ขั้นปิดการสัมภาษณ์ 1. ตรวจสอบความสมบูรณ์ และความถูกต้องของคำตอบ 2. กล่าวขอบคุณผู้ให้สัมภาษณ์ที่ให้ความร่วมมือ 3. กล่าวคำอำลาด้วยท่าทีอ่อนน้อม

  18. ขั้นการประเมินผลการสัมภาษณ์ขั้นการประเมินผลการสัมภาษณ์ 1.ตรวจสอบความถูกต้องของแบบสัมภาษณ์แต่ละวัน 2.ประเมินข้อผิดพลาด ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะเพื่อนำไปปรับปรุง

  19. หลักในการสัมภาษณ์ 1. ควรสร้างความสนิทสนม คุ้นเคย และความเป็นกันเอง 2. ต้องรอให้ผู้ให้สัมภาษณ์มีอารมณ์ดี และว่างจากการทำงาน 3. ใช้ภาษาสุภาพ และ เหมาะสม ใช้คำพูดง่ายๆ 4. ถามตามข้อคำถามที่กำหนดไว้ในแบบสัมภาษณ์ 5. อย่าแสดงท่าที หรือ คำพูด เหนือกว่าผู้ให้สัมภาษณ์ 6.อย่าถามนำหรือเสนอแนะคำตอบ

  20. 7. พยายามตะลอมให้เข้าสู่ประเด็นเรื่องที่สัมภาษณ์ 8. อย่าถามในเรื่องที่ทำให้ผู้ตอบลำบากใจหรือไม่อยากตอบ 9. หลีกเลี่ยงการโต้แย้ง คัดค้าน 10. อย่าใช้เวลาในการสัมภาษณ์นานจนเกินไป 11. อย่าแสดงอาการตกใจหรือแปลกใจต่อคำตอบที่ได้รับ 12. ควรสังเกตควบคู่ไปกับการสัมภาษณ์

  21. ลักษณะของผู้สัมภาษณ์ที่ดีลักษณะของผู้สัมภาษณ์ที่ดี 1. มีบุคลิกดี สุภาพอ่อนน้อม พูดจาไพเราะอ่อนหวาน 2. มีมนุษย์สัมพันธ์ดีและวางตัวเหมาะสมกับกาลเทศะ 3. ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบ 4. มีความซื่อสัตย์ และยุติธรรม โดยเฉพาะการบันทึกข้อมูล 5. มีความละเอียดรอบคอบ และช่างสังเกต 6. มีความอดทน และเข้มแข็งต่อการเก็บรวบรวมข้อมูล 7. เข้าใจธรรมชาติของท้องถิ่น

  22. การเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการสังเกต การสังเกต การใช้ประสาทสัมผัส ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และกาย สังเกตหรือศึกษาพฤติกรรม และปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ประเภทของการสังเกต 1.เกณฑ์โดยอาศัยบทบาทของผู้สังเกต • การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (Participant Observation) • การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม 2.หลักเกณฑ์โดยอาศัยโครงสร้าง • การสังเกตแบบมีโครงสร้าง • การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง

  23. หลักการสังเกต 1. ต้องมีจุดมุ่งหมายที่แน่นอนและชัดเจน 2. มีความรู้เกี่ยวกับ ประชากรที่ศึกษา 3. ควรมีการบันทึก รายละเอียดทันทีเท่าที่จะกระทำได้ 4. ควรทำการสังเกตเฉพาะอย่าง - ผู้สังเกตต้องมีไหวพริบและทักษะ

  24. ลักษณะของผู้สังเกตที่ดีลักษณะของผู้สังเกตที่ดี 1. มีการรับรู้ที่ดี และสามารถแปลความหมายได้อย่างถูกต้อง 2. มีความละเอียดรอบคอบและช่างสังเกต 3. มีความตั้งใจอย่างแน่วแน่ในการสังเกต ตื่นตัวอยู่เสมอ 4. มีความยุติธรรมในการสังเกต 5. มีความรู้ในเรื่องที่สังเกต และสภาพแวดล้อมสิ่งที่สังเกต 6. มีสุขภาพดีทั้งกายและใจ

  25. การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ประเภทของแบบสอบถาม 1. การส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ 2. การให้มีผู้รับผิดชอบในการส่ง และรวบรวมแบบสอบถาม

  26. กระบวนการใช้แบบสอบถามกระบวนการใช้แบบสอบถาม 1. ขั้นสร้างแบบสอบถาม • กำหนดข้อมูลที่ต้องการ เลือกประเภทแบบสอบถาม • ร่างแบบสอบถาม ตรวจสอบเพื่อปรับปรุง • ทดลองใช้ และปรับปรุงแก้ไข 2. ขั้นส่งแบบสอบถาม 3. ขั้นรวบรวม และตรวจสอบแบบสอบถาม 4. ขั้นตรวจสอบจำนวนแบบสอบถาม

  27. การสร้างแบบสอบถาม 1. กำหนดสิ่งที่ต้องการวัด - กำหนดเนื้อหาที่ต้องการวัด 2. กำหนดประเภทของคำถาม ปลายเปิด - ปลายปิด 3. การร่างแบบสอบถาม 4. การตรวจสอบ และปรับปรุงแก้ไข 5. ทดลองใช้แบบสอบถาม ตรวจสอบคุณภาพ 6. ปรับปรุงแก้ไข

  28. ข้อควรคำนึงการร่างแบบสอบถามข้อควรคำนึงการร่างแบบสอบถาม 1. ข้อคำถามไม่ควรเกิน 10 หน้า หรือใช้เวลาตอบไม่เกิน 30 นาที 2. วางรูปคำถามให้สั้น กะทัดรัด จูงใจอยากอ่าน และสะดวกในการวิเคราะห์ และตีความ 3. คำถามอย่าให้รู้สึกว่าเป็นการบังคับ หรือทำให้ผู้ตอบอาย 4. คำถามมีเนื้อความให้ตอบประเด็นเดียวแน่ชัด 5. ถามคำถามอย่างตรงไปตรงมา ไม่ซ่อนเร้น 6. ควรมีคำชี้แจง วิธีการตอบแบบสอบถาม 7. ควรตั้งคำถามชนิดที่ไม่เป็นคำถามนำหรือชี้แนะคำตอบ 8. ควรจัดพิมพ์อย่างเรียบร้อย สะอาด 9. ควรกำหนดรหัส(code)

  29. แบบสัมภาษณ์ รายการคำถามที่กำหนดเรื่องราวไว้เป็นแนวในการถามว่า - จะต้องการถามอะไรบ้าง 1. แบบสัมภาษณ์ที่กำหนดเพียงแนะหัวข้อการสัมภาษณ์ 2. แบบสัมภาษณ์ที่กำหนดข้อความและตัวเลือกไว้อย่างละเอียด 3. แบบสัมภาษณ์แบบตรวจสอบรายการ 4. แบบสัมภาษณ์ที่มีการจัดอันดับโดยจัดคำตอบออกเป็นระดับต่างๆมาก - น้อย

  30. แบบสังเกต 1.ตารางจดบันทึกหรือแบบบันทึก 2.แบบสังเกตแบบตรวจสอบรายการ 3.แบบสังเกตโดยมีการประมาณค่า

  31. แบบทดสอบ ชุดของข้อคำถามที่สร้างอย่างมีระบบ ใช้วัดพฤติกรรมของผู้ต้องการตรวจสอบ

  32. กำหนดเครื่องมือที่จะใช้กำหนดเครื่องมือที่จะใช้ ได้มาตรฐาน ยังไม่มี สำรวจเครื่องมือ มีอยู่แล้ว ไม่ได้มาตรฐาน สร้างเครื่องมือใหม่ ปรับปรุง/พัฒนา ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ - เหมาะสมกับกลุ่มผู้ตอบ -มีความเที่ยงตรง - มีความเชื่อมั่น นำไปใช้ การจัดหา/จัดทำเครื่องมือ

  33. ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ 1. กำหนดสิ่งที่ต้องการวัด 2. นิยาม กำหนดประเด็น โครงสร้างของสิ่งที่ต้องการวัด 3. เลือกเครื่องมือและวิธีการรวบรวมข้อมูล 4. สร้างเครื่องมือ 5. พิจารณาทบทวนเครื่องมือก่อนนำไปตรวจสอบคุณภาพ 6. จัดทำเครื่องมือฉบับที่จะนำไปตรวจสอบคุณภาพ 7. ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือและปรับปรุง 8. สร้างคู่มือการใช้เครื่องมือ

  34. คุณภาพของเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลคุณภาพของเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล 1.ความเที่ยงตรง(Validity) • ความเที่ยงตรงตามเนื้อหา • ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง • ความเที่ยงตรงตามสภาพ • ความเที่ยงตรงตามพยากรณ์ 2.ความเชื่อมั่น (Validity) • วิธีการวัดซ้ำ 3.ความเป็นปรนัย(Objectivity) 4.ความยาก (Difficulty) 5.อำนาจในการจำแนก(Discriminate) 6.ประสิทธิภาพ (Efficiency) • วัดได้ตรง และประหยัดแรงงาน ทุนทรัพย์และเวลา

  35. ารตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ 1. การตรวจสอบคุณภาพรายข้อ 1.1 เครื่องมือที่ใช้วัดเนื้อหาความรู้ ความยาก อำนาจจำแนก 1.2 เครื่องมือที่ใช้วัด ความคิดเห็น เจตคติ อำนาจจำแนก

  36. ารตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ 1. การตรวจสอบคุณภาพรายข้อ 2. การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือทั้งฉบับ 2.1 ความเที่ยงตรง 2.2 ความเชื่อมั่น

  37. การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ เครื่องมือ ความเที่ยงตรง ความเชื่อมั่น ความยาก อำนาจจำแนก แบบประเมิน แบบทดสอบ แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ แบบวัดคุณลักษณะ

  38. ดัชนีความสอดคล้อง (IOC)IOC = • R N เมื่อ IOC หมายถึง ดัชนีความสอดคล้อง • R หมายถึง คะแนนความคิดเห็นรวมของผู้เชี่ยวชาญ N หมายถึง จำนวนผู้เชี่ยวชาญ เกณฑ์การพิจารณา ถ้า IOC >= .50 ข้อคำถามใช้ได้ IOC < .50 ข้อคำถามใช้ไม่ได้

  39. ความเที่ยง หรือ ความเชื่อมั่น (Reliability) • การวิเคราะห์ความเที่ยง - การวัดซ้ำ - การใช้เครื่องมือที่เป็นคู่ขนานกัน - ความสอดคล้องภายในของเครื่องมือ - ความคงที่ของการวัด

  40. สูตรสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันสูตรสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน NSXY - SXSY rxy= [NSX2-(SX)2][NSY2-(SY)2] เมื่อ rxyคือ สหสัมพันธ์ x คือ คะแนนชุดที่ 1 y คือ คะแนนชุดที่ 2

  41. สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค n ∑Si2 n-1 Sx2 1 - = n = จำนวนข้อสอบที่ใช้ Si2 = ความแปรปรวนของคะแนนแต่ละข้อ Sx2 = ความแปรปรวนของคะแนนของ ผู้เข้าสอบทั้งหมด

  42. สวัสดี

More Related