320 likes | 536 Views
1308208 Management Information System for Administration 2. ประเภทของสารสนเทศ. Instructor : Dr. Chattrakul Sombattheera Office : IT 302 Email : chattrakul@gmail.com . Faculty of Informatics Mahasarakham University. ประเภทของระบบสารสนเทศ. ระบบสารสนเทศ. ระบบสารสนเทศจำแนก
E N D
1308208 Management Information System for Administration2. ประเภทของสารสนเทศ Instructor : Dr. ChattrakulSombattheera Office : IT 302 Email :chattrakul@gmail.com Faculty of Informatics Mahasarakham University
ประเภทของระบบสารสนเทศประเภทของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศจำแนก ตามการสนับสนุน ระบบสารสนเทศจำแนก ตามโครงสร้างขององค์กร ปัญญาประดิษฐ์ ระบบสารสนเทศจำแนก ตามหน้าที่หลักขององค์กร • Expert System • Neural Networks • ระบบสารสนเทศของหน่วยงาน Departmental IS • ระบบสารสนเทศขององค์กร Enterprise IS • ระบบสารสนเทศระหว่างองค์กรInterorganizational IS • ระบบสารสนเทศด้านบัญชี • ระบบสารสนเทศด้านการเงิน • ระบบสารสนเทศด้านการผลิต • ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรมนุษย์ • TPS • MRS • DSS
ระบบสารสนเทศจำแนกตามโครงสร้างองค์กรระบบสารสนเทศจำแนกตามโครงสร้างองค์กร • ระบบสารสนเทศของหน่วยงานย่อย(Departmental IS) • ระบบสารสนเทศขององค์กร(Enterprise IS) • ระบบสารสนเทศระหว่างองค์กร(Interorganizational IS)
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศของหน่วยงานย่อยระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศของหน่วยงานย่อย • Departmental IS เป็นระบบสารสนเทศที่ออกแบบมาสำหรับหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งขององค์กร โดยแต่ละหน่วยอาจมีโปรแกรมประยุกต์ใช้งานในงานใดงานหนึ่งของตนโดยเฉพาะ เช่น ฝ่ายบุคลากรอาจมีโปรแกรมสำหรับคัดเลือกบุคคลหรือติดตามผลการโยกย้ายงานของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานซึ่งโปรแกรมทั้งหมดของระบบอาจเรียกว่า Human resources information system
ระบบสารสนเทศขององค์กรระบบสารสนเทศขององค์กร • Enterprise IS ระบบสารสนเทศของหน่วยงานี่มีการเชื่อมโยงกับหน่วยงานอื่น ทั้งหมดภายในองค์กร หรืออีกนัยหนึ่งก็คือองค์กรนั้นมีระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงทั้งองค์กร
ระบบสารสนเทศระหว่างองค์กรระบบสารสนเทศระหว่างองค์กร • Interorganizational IS เป็นระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงกับองค์กรอื่นๆ ภายนอกตั้งแต่ 2 องค์กรขึ้นไป เพื่อช่วยให้การติดต่อสื่อสารหรือการประสานงานร่วมมือมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตลอดจนถึงใช้เพื่อการวางแผน ออกแบบ พัฒนา การผลิต และการส่งสินค้าและบริการ ปัจจุบันสารสนเทศระหว่างองค์กรนี้มีขอบข่ายเชื่อมโยงเป็น GIS เช่นระบบการจองตั๋วเครื่องบิน
การจำแนกตามหน้าที่ขององค์กรการจำแนกตามหน้าที่ขององค์กร • ระบบสารสนเทศด้านบัญชี(Accounting Information System) • ระบบสารสนเทศด้านการเงิน(Finance Information System) • ระบบสารสนเทศด้านการผลิต(Manufacturing Information System) • ระบบสารสนเทศด้านการตลาด(Marketing Information System) • ระบบสารสนเทศด้านทรัพยากรมนุษย์(Human Resource Management Information System)
การไหลของสารสนเทศในซัพพลายเชนการไหลของสารสนเทศในซัพพลายเชน ซัพพลายเออร์ โรงงาน ผู้จัดจำหน่าย ร้านค้าปลีก ลูกค้า ซัพพลายเชน
การจำแนกตามการให้การสนับสนุนของระบบสารสนเทศการจำแนกตามการให้การสนับสนุนของระบบสารสนเทศ • ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ(Transaction Processing System-TPS) • ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ(Management Reporting System-MRS) • ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ(Decision Support Systems-DSS)
ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบปฏิบัติการทางธุรกิจ Transaction processing system ระบบจัดทำรายงานสำหรับการจัดการ Management reporting system ระบบย่อยของMIS ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ Decision supporting system ระบบสารสนเทศสำนักงาน Office information system
TPS MRS DSS • ลักษณะสารสนเทศ • ไม่ได้กำหนดล่วงหน้า • นำเสนอแบบสรุป • เกิดขึ้นไม่บ่อย • มองในอนาคต • แหล่งข้อมูลภายนอก • ขอบเขตกว้าง การตัดสินใจแบบ ไม่มีโครงสร้าง ผู้บริหาร ระดับสูง DSS การตัดสินใจแบบ กึ่งมีโครงสร้าง ผู้บริหารระดับกลาง MRS • กำหนดล่วงหน้า • มีรายละเอียดมาก • เกิดขึ้นประจำ • ข้อมูลในอตีต • แหล่งข้อมูลภายใน • ขอบเขตแคบชัดเจน การตัดสินใจแบบ มีโครงสร้าง ระดับปฏิบัติการ TPS
ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ • Transaction Processing Systems-TPS • ระบบสารสนเทศที่เน้นกระบวนการบันทึก ประมวลผลข้อมูลที่เกิดจากธุรกรรมหรือการปฏิบัติงานประจำหรืองานขั้นพื้นฐานขององค์กร เช่น การซื้อขายสินค้า การบันทึกจำนวนวัสดุคงคลัง • จะต้องมีการบันทึกข้อมูลทันทีทุกครั้งที่มีการขายสินค้า ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับข้อมูลลูกค้า จำนวนของสินค้าที่ขายไป และการชำระเงิน
ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ ลักษณะสำคัญ • มีการประมวลผลข้อมูลเป็นจำนวนมาก • แหล่งข้อมูลส่วนใหญ่มาจากภายในและผลที่ได้เพื่อตอบสนองต่อผู้ใช้ภายในองค์กรเป็นหลัก • กระบวนการประมวลผลข้อมูลมีการดำเนินการเป็นประจำ เช่น ทุกวัน ทุกสัปดาห์ ทุกเดือน • มีความสามารถในการเก็บฐานข้อมูลจำนวนมาก
ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ ลักษณะสำคัญ • มีการประมวลผลข้อมูลที่รวดเร็ว • TPS จะคอยติดตามและรวบรวมข้อมูลภายหลังจากที่ผลิตข้อมูลออกมาแล้ว • ข้อมูลที่ป้อนเข้าไปและที่ผลิตออกมามีลักษณะมีโครงสร้างที่ชัดเจน(structured data) • ความซับซ้อนในการคิดคำนวณมีน้อย • มีความแม่นยำและความน่าเชื่อถือค่อนข้างสูง
ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ • กระบวนการของ TPS มี 3 วิธี • Batch Processing • Online Processing • Hybrid System
Batch Processing • การประมวลผลเป็นชุดโดยการรวบรวมข้อมูลที่เกิดจากธุรกรรมที่เกิดขึ้นและรวบรวมไว้เป็นชุด เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง หรือจัดลำดับให้เรียบร้อยก่อนที่จะส่งไปประมวลผล โดยการประมวลผลนี้จะทำเป็นระยะๆ
Batch Processing ข้อมูลของ ธุรกรรมที่ จัดชุดไว้ ป้อนข้อมูลเข้า แฟ้มข้อมูล ของธุรกรรม (Transaction file) ที่จัดเรียงแล้ว แฟ้มข้อมูลหลักเดิม Old Master File ตรวจสอบความถูกต้อง & ปรับปรุงให้ทันสมัย แฟ้มข้อมูลหลักใหม่ New Master File รายงานที่มี ความผิดพลาด รายงาน ปรับจาก Laudon & Laudon.(1996:215).
Online Processing • ข้อมูลจะได้รับการประมวลผลและทำให้เป็นเอาท์พุททันทีที่มีการป้อนข้อมูลของธุรกรรมที่เกิดขึ้น เช่น การเบิกเงินจากตู้ ATM ธุรกรรม ประมวล/ปรับปรุง ข้อมูลให้ทันสมัย ในแฟ้มข้อมูลหลัก แฟ้มข้อมูลหลัก ป้อนข้อมูลผ่านคีย์บอร์ด ป้อนข้อมูลทันที Immediate Input ประมวลผลทันที Immediate Processing ปรับปรุงแฟ้มข้อมูลทันที Immediate File Update
Hybrid Systems • เป็นวิธีการผสมผสานแบบที่ 1) และ 2) โดยอาจมีการรวบรวมข้อมูลที่เกิดขึ้นทันที แต่การประมวลผลจะทำในช่วงระยะเวลาที่กำหนด เช่น แคชเชียร์ที่ป้อนข้อมูลการซื้อขายจากลูกค้าเข้าคอมพิวเตอร์ ณ จุดขายของ
ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ • Customer Integrated Systems(CIS) • เป็นระบบสารสนเทศที่พัฒนามาจาก TPS โดยลูกค้าสามารถป้อนข้อมูลและทำการประมวลผลด้วยตนเองได้ เช่น ATM การลงทะเบียนโดยผ่านโทรศัพท์มือถือ และการจ่ายค่าไฟฟ้าจากคอมพิวเตอร์ที่บ้านได้
ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ • Management Reporting Systems-MRS • ระบบสารสนเทศที่ช่วยในการทำงานงานตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ โดยการสรุปสารสนเทศที่มีอยู่ไว้ในฐานข้อมูล(Haag et al., 2000: 54) หรือช่วยในการตัดสินใจในลักษณะที่มีโครงสร้างชัดเจน และเป็นเรื่องที่ทราบล่วงหน้า • เป็นระบบสารสนเทศที่ให้รายงานให้ทราบถึงสถานการณ์และปัญหา ตลอดจนโอกาสที่เกิดขึ้น • สรุปสถานการณ์หรือปัญหา • บางครั้งเรียกว่า Management Information System-MIS
ระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการระบบสารสนเทศแบบรายงานเพื่อการจัดการ สนับสนุนการตัดสินใจ ผลิตรายงานตามตารางที่กำหนด ระบบจัดทำรายงาน สำหรับการจัดการ Management reporting system ผลิตรายงานตามรูปแบบที่กำหนด รวบรวมและประมวลผลข้อมูล ผลิตรายงานออกมาในรูปแบบกระดาษ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจDecision Support Systems-DSS • ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System :DSS) เป็นซอฟแวร์ที่ช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการ การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการสร้างตัวแบบที่ซับซ้อน ภายใต้ซอฟต์แวร์เดียวกัน นอกจากนั้น DSS ยังเป็นการประสานการทำงานระหว่างบุคลากรกับเทคโนโลยีทางด้านซอฟต์แวร์ โดยเป็นการกระทำโต้ตอบกัน เพื่อแก้ปัญหาแบบไม่มีโครงสร้าง และอยู่ภายใต้การควบคุมของผู้ใช้ตั้งแต่เริ่มต้นถึงสิ้นสุดขั้นตอนหรืออาจกล่าวได้ว่า DSS เป็นระบบที่โต้ตอบกันโดยใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อหาคำตอบที่ง่าย สะดวก รวดเร็วจากปัญหาที่ไม่มีโครงสร้างที่แน่นอน
ปัญญาประดิษฐ์ • Genetic Algorithms ที่ช่วยในการสร้างทางเลือกจำนวนมากในการแก้ปัญหา • ระบบการเรียนรู้(Learning Systems)เป็นระบบที่ทำให้คอมพิวเตอร์สามารถเรียนรู้จากประสบการณ์โดยสามารถโต้ตอบหรือมีปฏิกิริยากับสถานการณ์แวดล้อมได้
ปัญญาประดิษฐ์ ปัญญาประดิษฐ์ - ประมวลสัญลักษณ์และ ตัวเลข - ไม่ดำเนินตามขั้นตอนทาง คณิตศาสตร์ - ให้ความสำคัญกับการรับรู้ แบบแผน ปัญญาประดิษฐ์ VS ระบบสนเทศทั่วไป ระบบสารสนเทศทั่วไป - ประมวลทางคณิตสาสตร์ - วิเคราะห์และแก้ปัญหา ตามขั้นตอนโดยใช้หลัก คณิตศาสตร์
ระบบผู้เชี่ยวชาญExpert System • ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาแก่ผู้ใช้ ในการให้คำแนะนำที่ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญในบางสาขา • มีลักษณะเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เก็บรวบรวมความรู้ของผู้เชี่ยวชาญเอาไว้(Knowledge based) • โปรแกรมจะพยายามหาคำตอบจากสิ่งที่ผู้ใช้ได้ป้อนเข้าไป หรือให้คำแนะนำที่ได้จากกฎที่กำหนดไว้ • กระจายความรู้ โดยเฉพาะสาขาที่ต้องอาศัยบุคลากรที่มีความชำนาญ เช่น แพทย์ นักการเงิน นักธรณีวิทยา • ความแน่นอน เป็นการสร้างความแน่นอนและความเที่ยงตรงให้เกิดขึ้น เช่น การวิเคราะห์หลักทรัพย์ หรือการวิเคราะห์แหล่งแร่ เป็นต้น • เตรียมการสำหรับอนาคต ลดความเสี่ยงและป้องกันการขาดแคลนความรู้และประสบการณ์ในการตัดสินใจเมื่อเกิดความต้องการขึ้น
องค์ประกอบของระบบผู้เชี่ยวชาญองค์ประกอบของระบบผู้เชี่ยวชาญ อุปกรณ์ช่วย ในการอธิบาย Inference Engine ฐานความรู้ อุปกรณ์ในการเก็บ รวบรวมความรู้ User interface ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ใช้ ที่มา:ปรับจาก Stair&Reynolds.(1999:494).
ระบบผู้เชี่ยวชาญExpert System • ประโยชน์ของ ES • ให้คำแนะนำเกี่ยวกับความรู้หรือความชำนาญเฉพาะด้านแก่ผู้ใช้โดยทั่วไป • ให้ความช่วยเหลือผู้เชี่ยวชาญ • ทดแทนผู้เชี่ยวชาญ • ข้อจำกัดของระบบผู้เชี่ยวชาญ • การเก็บความรู้จากผู้เชี่ยวชาญทำได้ยาก • การสร้างกฎต่างๆ ทำได้ยาก • ใช้แก้ปัญหาได้เฉพาะจุดเท่านั้น
Neural Network • โครงข่ายประสาท หรือโครงข่ายประสาทประดิษฐ์ หรือ Artificial Neural Network (ANN) เป็นรูปแบบการประมวลผลสารสนเทศที่เลียนแบบมาจากการประมวลผลของระบบประสาทภายในสมองของมนุษย์
Neural Network • การคิดค้นโครงข่ายประสาทในอดีตไม่เป็นที่ยอมรับมากนัก แต่อย่างไรก็ตามได้มีผู้พยายามที่จะค้นหาความจริง จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1943 Warren McCollochและ Walter Pits ได้คิดโครงสร้างของโครงข่ายประสาทเพื่อใช้งานจริงๆ ออกมา แต่ก็ไม่ได้รับการยอมรับอีกเช่นกัน • การเรียนรู้ของโครงข่ายประสาทเรียกว่า การเทรน(trained) ซึ่งจะเปรียบเทียบได้กับการคิดของผู้เชี่ยวชาญ หรือวิเคราะห์ข้อมูลที่มีอยู่