1 / 19

Cloning : การโคลน , โคลนนิง

Cloning : การโคลน , โคลนนิง. หมายถึง กระบวนการสร้างสิ่งที่มีลักษณะทางพันธุกรรม เหมือนกันกับสิ่งที่มีอยู่ก่อน มนุษย์รู้จักโคลนนิ่งมาแต่สมัยโบราณแล้ว แต่เป็นการรู้จักโคลนนิ่ง ที่เกิดกับพืช นั่นคือ การขยายพันธุ์พืชโดย ไม่อาศัยเพศ เช่น การแตกหน่อ.

skule
Download Presentation

Cloning : การโคลน , โคลนนิง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Cloning : การโคลน , โคลนนิง หมายถึง กระบวนการสร้างสิ่งที่มีลักษณะทางพันธุกรรม เหมือนกันกับสิ่งที่มีอยู่ก่อน มนุษย์รู้จักโคลนนิ่งมาแต่สมัยโบราณแล้ว แต่เป็นการรู้จักโคลนนิ่ง ที่เกิดกับพืช นั่นคือ การขยายพันธุ์พืชโดย ไม่อาศัยเพศ เช่น การแตกหน่อ

  2. ศ.เอียน วิลมุต ผู้สร้างตำนานการโคลนนิง สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่เกิดมาและมีชีวิตรอดอยู่ได้ จากเซลล์ที่ได้จากตัวอ่อนและตัวเต็มวัย Nature 1997 , 385: 810-3

  3. "คอปปี แคท " (Copy Cat) หรือ ซีซี (CC) แมวตัวแรกของโลกที่โคลนขึ้นโดยทีมนักวิจัยของมหาวิทยาลัยเท็กซัส เอแอนด์เอ็ม (Texas A&M University) ลูกแพะโคลนนิง (กลาง) กับแพะต้นแบบเพศผู้(ขวา) โดยมีแม่อุ้มบุญ (ซ้าย) ที่ไม่มีความข้องเกี่ยวทางพันธุกรรมยืนอยู่ข้างๆ โดย ดร.รังสรรค์ พาลพ่าย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (มทส.)

  4. กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ 22 มกราคม พ.ศ. 2551 นักวิทย์สหรัฐโคลนตัวอ่อนมนุษย์ บริษัทสเตมมาเจน ประกาศว่า ประสบความสำเร็จในการโคลนตัวอ่อนมนุษย์ เป็นครั้งแรกจากเซลล์ผิวหนังของผู้ใหญ่ โดยใช้เทคนิคเดียวกับการโคลนแกะดอลลี่ โดยการเจาะเซลล์ไข่สตรีที่ได้รับบริจาค และฉีดนิวเคลียสของเซลล์ผิวหนังผู้ชายลงไป ตัวอ่อนที่ได้จากโคลนนิ่ง แลดูแข็งแรง แม้จะไม่มีผู้ใดทราบว่า ตัวอ่อนที่ได้จากการโคลนนิ่งจะแข็งแรงพอจนสามารถเติบโตเป็นทารกต่อไปได้หรือไม่

  5. ถ้าเทคนิคการโคลนนิง ในมนุษย์ประสบผลสำเร็จ นิสิตจะคิดทำโคลนของตัวเองหรือไม่ เพราะเหตุใด

  6. Stem Cell: เซลล์ต้นกำเนิด • สามารถแบ่งตัวขึ้นมาใหม่ได้ตลอดเวลาในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม • เมื่อแบ่งตัวแล้ว ยังคงสภาพการเป็นเซลล์ที่ยังไม่ทำหน้าที่เฉพาะเจาะจง • สามารถพัฒนาตัวเองไปเป็นเซลล์ที่เฉพาะเจาะจง เช่น เป็นเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว หรือเป็นเซลล์อื่นๆ ได้

  7. Stem cell Stem Cell นำมาจากไหนได้บ้าง • สเต็มเซลล์จากตัวอ่อน : Embryonic stem cell ตัวอ่อนในระยะบลาสโตซิสท์ (ไข่ผ่านการผสมกับสเปิร์มมาแล้วประมาณ4-5วัน)

  8. 2. สเต็มเซลล์ร่างกาย (Adult stem cell หรือ Somatic stem cell หรือ Mature stem cell) - จากเลือด - จากไขกระดูก - จากเลือดในสายรก

  9. กระบวนการสร้างตัวอ่อนลูกผสมโดยใช้เซลล์ไข่ของวัวที่ดึงเอาดีเอ็นเอออกไปแล้ว ก่อนฉีดดีเอ็นเอของมนุษย์เข้าไปแทน สถาบันคิงส์ คอลเลจ ลอนดอน และมหาวิทยาลัยนิวคาสเซิล ประเทศอังกฤษ ได้รับใบอนุญาตจากสำนักงานการเจริญพันธุ์มนุษย์และตัวอ่อนวิทยา (Human Fertilization and Embryology Authority: HFEA) ให้สามารถทำวิจัยสร้างตัวอ่อนลูกผสม (hybrid embryo) ระหว่างคนและสัตว์ได้เพื่องานวิจัยด้านเซลล์ต้นกำเนิดจากตัวอ่อนเมื่อวันที่ 17 ม.ค.51 โดยเบื้องต้นให้เวลาทำวิจัย 1 ปี

  10. - รัฐบาลประเทศเยอรมนีประกาศสนับสนุนให้นักวิจัยในประเทศศึกษาวิจัย สเต็มเซลล์ได้แล้ว แต่เป็นสเต็มเซลล์ที่ไม่ได้มาจากตัวอ่อนจุดประสงค์ก็เพื่อที่จะสร้างสเต็มเซลล์จากผู้ใหญ่ขึ้นมาทดแทนสเต็มเซลล์จากตัวอ่อน - วันที่ 28 ม.ค.51นายจอร์จ ดับเบิลยู. บุช ได้แถลง ต่อรัฐสภาเพื่อของบประมาณสนับสนุนการวิจัยสร้าง สเต็มเซลล์ไลน์ โดยวิธีที่ไม่ทำลายตัวอ่อนเพิ่มขึ้น ซึ่งวิธีการนี้จะนำเซลล์ผิวหนังของผู้ใหญ่มาใส่ยีนสำคัญที่ควบคุมความเป็นสเต็มเซลล์ตัวอ่อน และเพาะเลี้ยงจนได้เซลล์ที่มีลักษณะคล้ายกับสเต็มเซลล์ตัวอ่อนขึ้น

  11. Human GenomeProject(HGP) : โครงการจีโนมมนุษย์ Genome คืออะไร คือสารพันธุกรรมทั้งหมดที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตอย่างปกติของสิ่งมีชีวิต ซึ่งในกรณีของสิ่งมีชีวิตชั้นสูงจีโนมคือชุดของ DNA ทั้งหมดที่บรรจุอยู่ในนิวเคลียสของเซลล์ ("แบบพิมพ์เขียว" ของสิ่งมีชีวิต)

  12. Human GenomeProject(HGP)

  13.     โครงการจีโนมมนุษย์ได้รับการประกาศสิ้นสุดการศึกษาลำดับรหัสพันธุกรรมทั้งหมดของมนุษย์เมื่อกุมภาพันธ์ 2544 (ค.ศ. 2001) วารสาร Nature และ Science ฉบับเดือนกุมภาพันธ์ The Human Genome Project : from Nature 2001 (15 Feb.) The Human Genome Project : from Science 2001 (16 Feb.)

  14. ชีวจริยธรรม (Bioethics) - การโคลนนิ่ง - สเต็มเซลล์ - ข้อมูลพันธุกรรมมนุษย์

  15. The New Macdonald Pharm

More Related