1 / 75

Coxsackievirus Disease

Coxsackievirus Disease. ลักษณะโรค. Vesicular Pharyngitis ( Herpangina ) มีไข้ทันที เจ็บคอ และเกิดตุ่มพองที่ปาก ลำคอ ลิ้นไก่ บนเพดานอ่อนส่วนหลัง และทอนซิล ต่อมาจะแตกเป็นแผลอยู่ 4-6 วัน . ลักษณะโรค. โรคมือ เท้า ปาก (Hand, Foot and Mouth Disease /Vesicular Stomatitis with exanthem ).

sinjin
Download Presentation

Coxsackievirus Disease

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Coxsackievirus Disease

  2. ลักษณะโรค • Vesicular Pharyngitis (Herpangina) มีไข้ทันที เจ็บคอ และเกิดตุ่มพองที่ปาก ลำคอ ลิ้นไก่ บนเพดานอ่อนส่วนหลัง และทอนซิล ต่อมาจะแตกเป็นแผลอยู่ 4-6 วัน

  3. ลักษณะโรค • โรคมือ เท้า ปาก (Hand, Foot and Mouth Disease /Vesicular Stomatitis with exanthem)

  4. เชื้อก่อโรค • Vesicular Pharyngitis– Coxsackiesvirus Group A, Types1-10, 16 และ 22 • โรคมือ เท้า ปาก Coxsackiesvirus Group AType A16, 4, 5 , 9, 10 Group B Types 2, 5 และ Enterovirus 71

  5. การเกิดโรค • พบได้ทั่วโลก ส่วนใหญ่ในเด็ก <10 ปี แหล่งรังโรค คน

  6. วิธีการแพร่เชื้อ สัมผัสโดยตรงและหายใจ ทั้งจากน้ำมูก น้ำลาย อุจจาระของผู้ติดเชื้อ

  7. ระยะฟักตัว รับเชื้อ ป่วย 3-5 วัน

  8. ระยะติดต่อของโรค ช่วงแรกของการป่วย จนถึงหลายสัปดาห์ ความไวต่อการรับเชื้อ เกิดภูมิในซีโรทัยป์เดียวกัน

  9. วิธีการป้องกัน • มาตรการป้องกัน : • ลดการสัมผัสจากคนสู่คน ให้สุขศึกษา เน้นล้างมือ

  10. มาตรการป้องกัน : การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม • การรายงาน : รายงานเจ้าหน้าที่ • การแยกผู้ป่วย : ระมัดระวังสิ่งขับถ่าย • การทำลายเชื้อ : ในอุจจาระและเครื่องใช้ปนเปื้อน • การกักกัน : ไม่มีความจำเป็น • การจัดการในผู้สัมผัส : ไม่มีความจำเป็น • การสอบสวนโรคในผู้สัมผัส และค้นหาแหล่งโรค : • ทำในเด็กก่อนวัยเรียน

  11. มาตรการป้องกัน : การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม • การรักษาเฉพาะ : ไม่มี • มาตรการควบคุมโรคระหว่างประเทศ : WHO Collaborating Centres

  12. Salmonellosis

  13. ลักษณะโรค • ติดเชื้อแบคทีเรียเฉียบพลันที่ลำไส้ • อาการปวดศีรษะทันทีทันใด ปวดท้อง ท้องเสีย คลื่นไส้ และอาเจียน • ทารก และผู้สูงอายุเกิดขาดน้ำรุนแรงได้

  14. สะสมในเนื้อเยื่อให้เกิดฝีสะสมในเนื้อเยื่อให้เกิดฝี • สาเหตุ • ติดเชื้อในข้อ • ถุงน้ำดีอักเสบ • ลิ้นหัวใจอักเสบ • เยื่อหุ้มสมองอักเสบ • เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ • ปอดอักเสบ • ไตหรือกรวยไตอักเสบ

  15. เชื้อก่อโรค SalmonellosisTyphi

  16. การเกิดโรค

  17. การเกิดโรค • แพร่เชื้อจากอาหารที่ทำจากสัตว์- นม เนื้อ • พบในเด็กและทารก

  18. แหล่งรังโรค • สัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า – สัตว์ปีก สุกร โค กระบือ สัตว์ฟันแทะ และสัตว์เลี้ยงอื่น ๆ รวมทั้งคน

  19. วิธีการแพร่เชื้อ กินอาหารที่เป็นผลิตภัณฑ์จากสัตว์ที่ติดเชื้อ

  20. ระยะฟักตัว รับเชื้อ ป่วย 6-72 ชั่วโมง (เฉลี่ย 12-36 ชั่วโมง)

  21. ระยะติดต่อของโรค ตั้งแต่หลายวันจนถึงหลายสัปดาห์ ความไวต่อการรับเชื้อ คนทั่วไป ผู้ที่ได้ยาปฏิชีวนะ ทานยาลดกรด ขาดอาหาร

  22. วิธีการป้องกัน • มาตรการป้องกัน : • ให้สุขศึกษา เน้นการล้างมือก่อนและหลังปรุง • เก็บถนอมอาหารในตู้เย็น • ปรุงอาหารให้สุก • หลีกเลี่ยงการปนเปื้อนเชื้อในอาหารสุก • รักษาสุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อมในครัว

  23. วิธีการป้องกัน • มาตรการป้องกัน : • ให้สุขศึกษาประชาชนไม่รับประทานอาหารดิบ หรือไข่สุก ๆ ดิบ ๆ หรือไอศกรีมที่ผลิตเองในบ้าน • ใช้ผลิตภัณฑ์จากไข่ที่พาสเจอร์ไรด์ ในอาหารที่ใส่ไข่หลังปรุง • ผู้ที่มีอุจจาระร่วงต้องหยุดปรุงอาหาร • ให้ความรู้แก่ผู้เป็นพาหะ เน้นล้างมือ • สัตว์เลี้ยงเช่น ลูกไก่ ลูกเป็ด เต่ามีความเสี่ยงต่อเด็ก

  24. วิธีการป้องกัน • มาตรการป้องกัน : • สร้างเครื่องมือและสนับสนุนการใช้เนื้อสัตว์และไข่ที่ผ่านการอาบรังสี • ตรวจสอบมาตรฐานสุขาภิบาลและให้คำแนะนำโรงฆ่าสัตว์ • จัดทำระบบควบคุม Salmonella • ผลิตภัณฑ์และอาหารสำหรับเลี้ยงสัตว์ควรปรุงให้สุก

  25. มาตรการป้องกัน : การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม • การรายงาน : รายงานใน Class 2 • การแยกผู้ป่วย : เน้นล้างมือ ระมัดระวังการติดเชื้อ • จากผู้ป่วยและสงสัย ผู้มีอาการหยุดปรุงอาหาร • การทำลายเชื้อ : ในอุจจาระและเครื่องใช้ปนเปื้อน • การกักกัน : ไม่จำเป็น • การจัดการในผู้สัมผัส : ไม่มี • การสอบสวนโรคในผู้สัมผัส และค้นหาแหล่งโรค : • เพาะเชื้อจากผู้สัมผัส

  26. มาตรการป้องกัน : การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม • การรักษาเฉพาะ : ให้สารน้ำ และเกลือแร่ป้องกัน

  27. มาตรการป้องกัน : การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม • การรักษาเฉพาะ : ไม่ให้ยาปฏิชีวนะในพาหะ • ผู้มีภูมิคุ้มกันต่ำ ควรได้ยา เช่น Ciprofloxacin เด็กใช้ Ampicillinหรือ Amoxy

  28. มาตรการเมื่อเกิดการระบาด : • ซักประวัติการปรุงอาหาร • ความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น : ในกรณีทำอาหารจำนวนมากและสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ดี • มาตรการควบคุมโรคระหว่างประเทศ : • WHO Collaborating Centres

  29. มาตรการเมื่อเกิดการระบาด : • ความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น : โอกาสระบาดสูงในพื้นที่แออัด สุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสม • มาตรการควบคุมโรคระหว่างประเทศ : • ต้องแจ้ง WHO • ตรวจพาหนะ เช่น เรือ เครื่องบิน ที่มาจากพื้นที่เกิดโรค • ควรให้วัคซีนกินเมื่อต้องเข้าพื้นที่ระบาด

  30. Shigellosis

  31. ลักษณะโรค • ติดเชื้อแบคทีเรียเฉียบพลันที่ลำไส้เล็กส่วนปลาย • ถ่ายอุจจาระเหลวปริมาณไม่มาก ไข้ คลื่นไส้ และมีโลหิตเป็นพิษ (Toxaemia) อาเจียน ตะคริว และกล้ามเนื้อเกร็ง • ลักษณะเฉพาะ อุจจาระมีเลือดหรือมูกปน • หายได้เองภายใน 4-7 วัน

  32. เชื้อก่อโรค Shigellaมี 4 สปีชีร์ คือ A (S.dysenteriae) เกิด HUS ได้ B (S.Flexneri) เกิดพยาธิสภาพที่ข้อ C (S.Boydii) D (S.Sonnei) ทำให้เกิดโรคที่เยื่อบุลำไส้

  33. การเกิดโรค

  34. แหล่งรังโรค

  35. วิธีการแพร่เชื้อ Fecal-Oral Transmission

  36. ระยะฟักตัว รับเชื้อ ป่วย 12-96 ชั่วโมง- 1 สัปดาห์ (เฉลี่ย 1-3 วัน)

  37. ระยะติดต่อของโรค ตั้งแต่แสดงอาการจนกระทั่งตรวจไม่พบเชื้อ ปกติ 4 สัปดาห์หลังป่วย ยาปฏิชีวนะช่วยลดการแพร่เชื้อเหลือ 2-3 วัน ความไวต่อการรับเชื้อ • คนทั่วไป • มีอาการรุนแรงในผู้สูงอายุ คนอ่อนแอ ขาดอาหาร • ดื่มนมแม่ป้องกันได้ • วัคซีนกินและฉีด ป้องกันโรคได้ 1 ปี

  38. วิธีการป้องกัน • มาตรการป้องกัน : • ให้สุขศึกษา เน้นการล้างมือ จัดให้มีที่ล้างมือ • กำจัดอุจจาระให้ถูกหลัก ใช้กระดาษชำระแทนน้ำ • แหล่งน้ำดื่มต้องสะอาด ฆ่าเชื้อด้วยคลอรีน • ควบคุมแมลงวัน • จัดเตรียมอาหารให้สะอาด • พาสเจอร์ไรส์นม

  39. วิธีการป้องกัน • มาตรการป้องกัน : • ควบคุมคุณภาพโรงงานเตรียมอาหาร • อนุญาตให้จับและจำหน่ายอาหารทะเลที่มีการตรวจสอบเท่านั้น • แนะนำผู้ป่วย ผู้ฟักฟื้น พาหะ ให้เข้าใจสุขวิทยาส่วนบุคคล • ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

  40. มาตรการป้องกัน : การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม • การรายงาน : รายงาน Class 2 • การแยกผู้ป่วย : ระมัดระวังการติดเชื้อจากผู้ป่วย • และสงสัย • การทำลายเชื้อ : ในอุจจาระและเครื่องใช้ปนเปื้อน • การกักกัน : แล้วแต่ละประเทศ • การจัดการในผู้สัมผัส : ผู้สัมผัสงดปรุงอาหาร • การสอบสวนโรคในผู้สัมผัส และค้นหาแหล่งโรค : • ค้นหาผู้สัมผัสโดยเฉพาะเกี่ยวกับการปรุงอาหาร ดูแลเด็ก

  41. มาตรการป้องกัน : การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม • การรักษาเฉพาะ : ให้สารน้ำ และเกลือแร่ป้องกัน

  42. มาตรการป้องกัน : การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม • การรักษาเฉพาะ : ให้สารน้ำ กรณีรุนแรง

  43. มาตรการป้องกัน : การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม • การรักษาเฉพาะ : ให้ Tetracycline, Doxycycline, Furazolidone

  44. มาตรการเมื่อเกิดการระบาด : • รายงานทันที • ตรวจหาเชื้อในน้ำ อาหาร และผลิตภัณฑ์นม • ไม่แนะนำให้ใช้ยาปฏิชีวนะ • เน้นให้ประชาชนล้างมือ มีอุปกรณ์เพียงพอ • ความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น : โอกาสระบาดสูงในพื้นที่แออัด สุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อมไม่เหมาะสม • มาตรการควบคุมโรคระหว่างประเทศ : • WHO Collaborating Centres

  45. Typhoid and Paratyphoid Fever

  46. ลักษณะโรค • ติดเชื้อแบคทีเรียทั่วร่างกาย • ไข้สูงลอย ปวดศีรษะอย่างชัดเจน อ่อนเพลีย รู้สึกไม่สบาย เบื่ออาหาร ชีพจรช้า ไอแห้ง ๆ • ผู้ป่วยผิวขาวจะมี Rose Spots ที่ลำตัว • มีอาการท้องผูกมากกว่าท้องเสีย

  47. Rose Spots

  48. ลักษณะโรค • ผู้ไม่มีอาการรุนแรง อาการคือ ระบบทางเดินอาหารอักเสบ มีไข้แต่ไม่มีเหงื่อ ประสาทเฉื่อยชา มีหูหนวกเล็กน้อย มีต่อมพาโรติคอักเสบ ลำไส้เล็กมีแผล และทะลุได้ • ก่อนมียาอัตราตาย 10-20% ปัจจุบัน <1%

  49. เชื้อก่อโรค Salmonella Typhiและ Salmonella Paratyphi A และ B

  50. การเกิดโรค ป่วยปีละ 17 ล้านคน ตายปีละ 600,000 คน

More Related