1 / 38

Chapter 11

Chapter 11. Managing Organizational Change, Resistance, and Conflict. Chapter 11 – Objectives. อธิบายถึงวินัยในการบริหารการเปลี่ยนแปลงขององค์กร ( organizational change management) และแนวทางในการประเมินความพร้อมและความสามารถขององค์กรในการสนับสนุนและรองรับการเริ่มต้นในการเปลี่ยนแปลง

shanna
Download Presentation

Chapter 11

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Chapter 11 • Managing Organizational Change, Resistance, and Conflict

  2. Chapter 11 – Objectives • อธิบายถึงวินัยในการบริหารการเปลี่ยนแปลงขององค์กร (organizational change management) และแนวทางในการประเมินความพร้อมและความสามารถขององค์กรในการสนับสนุนและรองรับการเริ่มต้นในการเปลี่ยนแปลง • อธิบายว่าการเปลี่ยนแปลงสามารถมองในเชิงกระบวนการและการบ่งชี้การสนองตอบของพนักงานได้อย่างไร เมื่อพนักงานเผชิญกับการเปลี่ยนแปลง • อธิบายกรอบในการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่ถูกทำให้เกิดขึ้น • นำแนวความคิดในบทนี้ไปสร้างแผนบริหารความเสี่ยง โดยแผนนี้มุ่งเน้นไปในด้านการประเมินความตั้งใจและความสามารถในการเปลี่ยนแปลง การสร้างกลยุทธ์ที่ใช้เปลี่ยนแปลง การนำแผนไปใช้และติดตามความก้าวหน้าไปสู้เป้าหมายของการเปลี่ยนแปลง แล้วทำการประเมินว่าการเปลี่ยนแปลงนั้นประสบผลสำเร็จหรือไม่ และจัดทำเอกสารบทเรียนที่ได้จากการเปลี่ยนแปลง • ถกแถลงเกี่ยวกับธรรมชาติของการต่อต้านและข้อขัดแย้ง และนำเทคนิคต่างๆมาใช้แก้ข้อขัดแย้งและแรงต่อต้านในแนวทางที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

  3. IT Systems may be a technical success but an organizational failure. • ความเชื่อแบบผิด ๆ ที่พบทั่ว ๆ ไป • “พนักงานต้องการการเปลี่ยนในครั้งนี่” • “เช้าวันจันทร์ เราจะใช้ระบบใหม่ และพนักงานจะใช้มัน” • “การมีโปรแกรมฝึกอบรมที่ดีจะตอบคำถามได้ทั้งหมด พนักงานจะชอบโปรแกรมนี้” • “พนักงานของเราผ่านการเปลี่ยนแปลงมาแล้วมากมาย จะเกิดอีกซักครั้งก็ไม่น่าจะมีปัญหาอะไร” • “เราเห็นความจำเป็นในการช่วยพนักงานปรับตัว แต่เราจำเป็นต้องตัดบางอย่าง…” • “พนักงานมีสองทางเลือกคือ จะเปลี่ยนแปลงหรือลาออก”

  4. Possible Results of false beliefs • การเปลี่ยนแปลงอาจไม่เกิดขึ้น • พนักงานจะต้องอาศัยเวลาช่วงหนึ่ง และทำบางสิ่งบางอย่างรอบ ๆการเปลี่ยนแปลง (คือไม่ทำการเปลี่ยนแปลง แต่จะทำเรื่องอื่น) • ผู้ใช้จะยอมรับบางส่วนของการเปลี่ยนแปลง • ผลประโยชน์สูงสุดของโครงการไม่สามารถบรรลุได้ หรือบรรลุได้หลังจากผ่านไประยะเวลาหนึ่งและใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ไปแล้ว (เช่น มีการเจรจาต่อรอง ให้ผลประโยชน์ล่อใจ)

  5. Change Management • “The transforming of the organization so it is aligned with the execution of a chosen corporate business strategy. It is the management of the human element in a large-scale change project.” Gartner Group

  6. The Nature of Change • ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง (The Impact of Change) – ไม่ว่าเราจะมองการเปลี่ยนแปลงไปในเชิงบวก (anticipation) หรือ ลบ (dread) ก็ตาม มันจะมีแรงกดดันเกิดขึ้นร่วมกับแต่ละการเปลี่ยนแปลงเสมอ • การรองรับ (Assimilation) – คือกระบวนการการปรับตัวเพื่อการเปลี่ยนแปลง และ ดูความสามารถในการจัดการกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันและในอนาคต (Davidson 2002)

  7. Assimilating Change

  8. The Nature of Change • การเปลี่ยนแปลงเมื่อมองในเชิงกระบวนการ • Force Field Analysis หรือ change theory (Lewin 1951) • พลังขับ (Driving Forces) – Facilitating change • พลังต้าน (Resisting Forces) – Barriers to change • ช่วงละลายพฤติกรรม (Unfreezing) (the present state) • ช่วงเปลี่ยนผ่าน (Changing) (the transition state) • ช่วงตกผลึก (Refreezing) (the desired state)

  9. Lewis’ Change Process Model

  10. ช่วงของกระบวนการเปลี่ยนแปลงช่วงของกระบวนการเปลี่ยนแปลง เป็นความพยายามละลายระบบ หรือรูปแบบพฤติกรรมเดิม เปรียบเสมือนละลายน้ำแข็งให้เป็นน้ำ ทั้งนี้ จะต้องทำให้บุคคลรู้สึกมีความมั่นคงมากขึ้น และหลีกเลี่ยงการคุกคามตัวบุคคล และใช้วิธีกระตุ้นทางทางบวกและลบในการดำเนินการ ช่วงละลายพฤติกรรม (Unfreezing) ช่วงการเปลี่ยนแปลง (Changing) เป็นกระบวนการเรียนรู้พฤติกรรมใหม่ เพื่อนำไปสู่พฤติกรรมองค์การที่พึงปรารถนา โดยผ่านวิธีการต่าง ๆ เช่น การสอนงาน การพัฒนา / ฝึกอบรม การสาธิต การวิจัย ฯลฯ เป็นช่วงที่พฤติกรรมที่ได้เรียนรู้ใหม่อยู่ตัว จึงต้องมีการเสริมแรง โดยการจัดทำเป็นระบบ มาตรฐาน และกระตุ้นและจูงใจให้บุคคลปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ช่วงตกผลึกอีกครั้ง (Refreezing) K. Lewin.1947.

  11. The Nature of Change • อารมณ์ในการการสนองตอบต่อการเปลี่ยนแปลง (Emotional Responses to Change) • Kübler-Ross’ Grieving Model อาจนำมาใช้ทำความเข้าใจกับการสนองตอบต่อการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ • สงวนท่าที (Denial) • โกรธ (Anger) • ทำการต่อรอง (Bargaining) • หมดหวัง (Depression) • ยอมรับ (Acceptance)

  12. Change Can be Emotional Emotional Response anger active acceptance bargaining stability testing denial shock depression passive Time Elizabeth Kubler- Ross, 1969

  13. Integrated Change Control • Integrated change control ประกอบด้วย การบ่งชี้ การประเมิน และการบริหารการเปลี่ยนแปลงตลอดทั่วทั้ง project life cycle (Note: 1996 PMBOK called this process “overall change control”) • สามวัตถุประสงค์หลักของ change control คือ: • พิจารณาแฟกเตอร์ที่เข้ามาเกี่ยวข้องที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อมั่นใจว่ามันก่อให้เกิดประโยชน์ • หาว่า การเปลี่ยนแปลงนั้นได้เกิดขึ้นแล้ว • บริหารการเปลี่ยนแปลงจริง ๆ เมื่อมันเกิดขึ้นและตามที่มันเกิดขึ้น

  14. Integrated Change Control Process

  15. Change Control on Information Technology Projects • Former view: Project team ต้องพยายามทำตามแผนในเวลาที่กำหนดไว้และภายในงบประมาณที่มี • Problem: Stakeholders มักจะไม่ค่อยยอมรับตั้งแต่แรกในเรื่อง project scope, and time และ cost estimates ที่ไม่ถูกต้องแม่นยำ • Modern view: การบริหารโครงการคือกระบวนการของการสื่อสารและการเจราจาต่อรองที่เกิดขึ้นเป็นประจำ • Solution: การเปลี่ยนแปลงมักก่อให้เกิดประโยชน์ และ project team ควรวางแผนจัดการกับการเปลี่ยนแปลง

  16. The Change Management Plan

  17. The Change Management PlanAssess Willingness, Readiness, and Ability to Change • Sponsor • Initiating vs. sustaining sponsor • Change Agents • The project manager and team • Targets of Change • The users • Must understand • ผลกระทบจริง ๆ อันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลง • การกระจายตัวของการเปลี่ยนแปลง • อะไรที่เสร็จสิ้นแล้ว อะไรที่ยัง • Whether the rules for success have changed

  18. The Change Management PlanAssess Willingness, Readiness, and Ability to Change • Leavitt’s Model of Organizational Change – Interdependence of components

  19. The Change Management PlanDevelop or Adopt a Strategy for Change • Rational–Empirical (เหตุผล-ความชำนาญ) Approach • Picture, Purpose, Part to Play • Normative-Reeducation (จัดทำให้เป็นบรรทัดฐาน-ให้การเรียนรู้ใหม่) Approach • เน้นไปที่ core values, ความเชื่อ และสร้างความสัมพันธ์อันก่อให้เกิดวัฒนธรรมในกลุ่ม • Power-Coercive (อำนาจ-บังคับ) Approach • ก่อให้เกิดการยินยอมผ่านทาง exercise of power • Environmental-Adaptive (ปรับสภาพแวดล้อม-ปรับตัว) Approach • แม้ว่าพนักงานจะหลีกหนีจากความยุ่งยาก(ในการเปลี่ยนแปลง)และก่อให้เกิดความสูญเสีย แต่เขาก็ยังคงสามารถปรับตัวเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงได้

  20. The Change Management PlanImplement the Change Management Plan and Track Progress • ติดตามความคืบหน้าโดยใช้ project tools (Gantt, Pert, etc.) เพื่อวัดว่าองค์กรปรับตัวเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงได้ดีเพียงใด • การสื่อสาร (Communication) • พึงระวังเรื่องการซุบซิบนินทา • สื่อที่ใช้มีความสำคัญมาก • การสื่อสารควรเป็นแบบสองทาง

  21. The Change Management PlanEvaluate Experience and Develop Lessons Learned • ประสบการณ์ควรจัดทำให้เป็นเอกสารและให้สมาชิกในทีมอื่นและโครงการอื่น ๆนำไปศึกษาได้ ซึ่งจะทำให้ประสบการณ์ได้รับการแบ่งปันและกลายเป็น best practices ไปในที่สุด • ความสำเร็จโดยรวมของ change management plan ควรนำมาประเมิน • ควรเพิ่ม new form และ functionality เข้าไปใน project organization’s IT project methodology.

  22. Change Control System • คือกระบวนการที่เป็นเอกสารที่ถุกนำมาใช้อย่างเป็นทางการ ซึ่งอธิบายถึง official project documents และ work อาจเปลี่ยนแปลงได้ ด้วยวิธีการอย่างไร (How) และ เกิดขึ้นเมื่อใด (When) • และ อธิบายถึง ใครที่มีอำนาจในการก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง และ ทำโดยวิธีการใด • และมักจะรวมถึง change control board (CCB), configuration management, และ process for communicating changes

  23. Change Control Boards (CCBs) • กลุ่มที่จัดตั้งขึ้น มีหน้าที่รับผิดชอบทางด้านการรับรอง (approving)หรือ ปฏิเสธ ( rejecting) การเปลี่ยนแปลงในโครงการหนึ่ง ๆ • CCBs จะให้แนวทางในการจัดเตรียมการร้องขอการเปลี่ยนแปลง (change request) ทำการประเมิน change requests และ บริหารขั้นตอนในการเปลี่ยนแปลงหลังจากการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ ได้รับการอนุมัติแล้ว • ทั้งนี้รวม stakeholders จากทั่วทั้งองค์กรด้วย

  24. Making Timely Changes • บาง CCBs นาน ๆ จะประชุมกันสักครั้งหนึ่ง ดังนั้น มันจึงใช้เวลานานมากกว่าการเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้น • บางองค์กรจึงมีนโยบายออกมาใช้กับ time-sensitive changes • “48-hour policy” ยอมให้ project team members ทำการตัดสินใจไปก่อน แล้วเขามีเวลา 48 ชั่วโมง ในการส่งการตัดสินใจข้างต้นไปให้ผู้บริหารระดับสูงทำการอนุมัติ • มอบหมาย changes ไปสู่ระดับต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ แต่แจ้งให้ทุกคนรับทราบเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง

  25. Configuration Management • มั่นใจว่า products และรายละเอียดต่าง ๆ ถูกต้องและครบถ้วน • มุ่งเน้นไปที่การบริหารจัดการกับเทคโนโลยีโดยการบ่งชี้ (identifying) และ ควบคุม(controlling)คุณสมบัติต่าง ๆ ทางกายภาพและฟังก์ชันที่ออกแบบของ product • Configuration management specialists จะทำการบ่งชี้ความต้องการทาง configuration และจัดทำให้เป็นเอกสาร ทำการควบคุม เก็บบันทึก และ ทำรายงานการเปลี่ยนแปลง รวมไปถึงทำการตรวจประเมิน product เพื่อสอบทานว่ามันสอดคล้องกับความต้องการ

  26. Suggestions for Managing Integrated Change Control • มอง project management ในเชิงของกระบวนการที่มี communications และ negotiations อยู่ตลอดเวลา • แผนสำหรับการเปลี่ยนแปลง • จัดให้มี change control system อย่างเป็นทางการ รวมทั้ง Change Control Board (CCB) • มี configuration management ที่ดี • กำหนดระเบียบปฏิบัติในการตัดสินใจที่ต้องแข่งกับเวลาในเรื่องการเปลี่ยนแปลงเล็ก ๆ น้อย ๆ • ใช้การรายงานประสิทธิภาพทั้งโดยวาจาและเป็นเอกสารจะช่วยในการบ่งชี้และบริหารจัดการเกี่ยวกับ change • ใช้ project management และ other software เข้าช่วยบริหารและสื่อสารถึงการเปลี่ยนแปลง

  27. Dealing With Resistance and Conflict • การต่อต้าน (Resistance) • ควรเข้าไปจัดการตั้งแต่ช่วงเริ่มต้นของโครงการ • มีทั้งเปิดเผย และซ่อนเร้น • เมื่อการเปลี่ยนแปลงถูกประนีประนอม (ในเชิงไม่ต้องเปลี่ยนแปลงก็ได้) ผู้บริหารและ project team จะเสียเครดิต และ คนในองค์กรอาจต่อต้านการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต

  28. Dealing With Resistance and Conflict • การต่อต้าน (Resistance) • จะเกิดขึ้นเมื่อมีเหตุผลที่ชัดแจ้ง(valid reason) • อาจเกิดขึ้นแม้ว่าผู้ต่อต้านข้างต้น รู้ว่าการเปลี่ยนแปลงนั้นจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร • ผู้ดำเนินการเปลี่ยนแปลงควรเผชิญกับการต่อต้านดังนี้: • ควรฟัง (ไม่ควรเถียง) • สื่อสารให้เห็นขอบเขตของการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจน • พึงเข้าใจว่า การเห็นอกเห็นใจกัน ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป

  29. Dealing With Resistance and Conflict • ความขัดแย้ง (Conflict) “แม้ว่าข้อขัดแย้งจะเป็นสิ่งหนึ่งที่เราไม่ต้องการให้เกิดขึ้น แต่ก็ยากที่จะหลบเลี่ยง ทุกครั้งที่เราพยายามที่จะหลบเลี่ยง แต่มันจะไม่มีทางออกให้กับเรา บางคนหวังอย่างผิด ๆ ว่า ความขัดแย้งจะหายไปถ้าเราไม่ใส่ใจกับมัน แต่ในความจริงแล้ว การไม่ใส่ใจมักทำให้สถานการณ์เลวร้ายลง ซึ่งส่งผลให้ประสิทธิภาพของโครงการลดลง ทางที่ดีคือทำการลดความขัดแย้งโดยเผชิญหน้ากับมัน” (Verma, 1998)

  30. Dealing With Resistance and Conflict • มุมมองที่แตกต่างในเรื่องความขัดแย้ง • Traditional – ความขัดแย้งเป็นเรื่องไม่ดี ควรหลบเลี่ยง • Contemporary – ความขัดแย้งหลีกเลี่ยงได้ยาก ถือเป็นเรื่องปกติ เป็นได้ทั้งบวกและลบ • Interactionist View – ความขัดแย้งเป็นเรื่องสำคัญและถือเป็นส่วนหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับผลของการปฏิบัติงาน

  31. Dealing With Resistance and Conflict • Categories of Conflict • ความขัดแย้งเป็นส่วนหนึ่งของ goals, objectives, หรือ specifications ของโครงการ • ความขัดแย้งเป็นส่วนหนึ่งของ administration, management structures, หรืออยู้ภายใต้ปรัชญาการดำเนินงานของโครงการ • ความขัดแย้งเป็นส่วนหนึ่งของ interpersonal relationships ระหว่างผู้คนบนพื้นฐานของ work ethics, styles, egos, หรือ personalities.

  32. Dealing With Resistance and Conflict • แนวทางการบริหารความขัดแย้ง • หลบเลี่ยง (Avoidance) • หลบลีก ถอนตัว หรือ ไม่ใส่ใจในความขัดแย้ง • เข้าไปมีส่วนร่วม (Accommodation) • เข้าไปมีส่วนร่วมในความขัดแย้งเพื่อทำให้บรรเทาลง • บังคับ (Forcing) • ใช้อำนาจที่มีอยู่เข้าไปบังคับ เพื่อแก้ไขข้อขัดแย้ง • ประนีประนอม (Compromise) • เจรจาต่อรอง • ร่วมมือกัน (Collaboration) • ร่วมมือกัน ก่อให้เกิดหลายความคิด หลายมุมมอง เพื่อแก้ไขปัญหาร่วมกัน

  33. Dealing With Resistance and Conflict • แต่ละสถานการณ์ของของความขัดแย้งจะมีเอกลักษณ์ของมันเอง และทางเลือกของแนวทางเข้าไปแก้ไขจะขึ้นกับ: • ประเภทของความขัดแย้งและมันสำคัญต่อโครงการเพียงใด • ความกดดันทางด้านเวลาในการแก้ไขความขัดแย้ง • ตำแหน่งและอำนาจของผู้ที่อยู่ในความขัดแย้งนั้น ๆ • ความสำคัญของการรักษา goals หรือ objectives ของ project หรือการรักษาความสัมพันธ์

  34. Dealing With Resistance and Conflict • Polarity Management – • จำเป็นเมื่อทั้งสองฝ่าย (เช่น ฝ่ายยอมรับการเปลี่ยนแปลง กับ ฝ่ายต่อต้านการเปลี่ยนแปลง) ที่อยู่ต่างขั้วกัน แต่ละขั้วก็จะมองเห็นหรือหนุนแต่ด้านตนเองและกดหรือทำให้อีกด้านแย่ลง • คำแนะนำ ทั้งสองด้านควรจะ: • ชี้ให้ชัดเจนว่าคุณค่าของเราคืออะไร และอะไรคือสิ่งที่เราไม่ต้องการสูญเสีย • ให้อีกขั้วหนึ่งรู้ว่า ท่านระวังที่จะไม่เข้าข้างในด้านที่ท่านชอบ • และไม่เข้าข้างด้านที่ท่านไม่ชอบ

  35. Dealing With Resistance and Conflict • Polarity Mapping – บ่งชี้ upsides และ downsides ของแต่ละด้านที่ก่อให้เกิดการสนับสนุน • Crusaders • ต้องการเปลี่ยนแปลงสถานะแบบเดิม ๆ และสนับสนุนการเปลี่ยนแปลง • สนับสนุนโดยบ่งชี้ข้อไม่ดี (downside) ของด้านปัจจุบัน • ทุ่มเทพลังในการเคลื่อนออกจากสถานการณ์ปัจจุบัน • Tradition Bearers • ต้องการรักษาสิ่งดี ๆ ในอดีตและปัจจุบัน (จึงไม่สนับสนุนการเปลี่ยนแปลง) • บ่งชี้ข้อดี(upside) ของปัจจุบัน และข้อไม่ดีของอีกด้านหนึ่งที่อยู่ตรงข้าม (ที่จะเปลี่ยนแปลงไป) • ช่วยบ่งชี้เรื่องที่ควรรักษาไว้

  36. Polarity Mapping

  37. Polarity Mapping • Pursue the “upsides” • Attempt to avoid the “downsides” • Provides “relief” for those with valid concerns • Avoids labeling one as “not being a team player” or as a “resistor”

  38. จบหัวข้อ 11 • คำถาม ………..

More Related