420 likes | 970 Views
การเขียนโครงการเชิงกลยุทธ์ (Action plan). ดร. พิ สัณห์ นุ่นเกลี้ยง. กระบวนการจัดทำโครงการเชิงกลยุทธ์. Input. โครงการ. วิเคราะห์โครงการ. เขียนรายละเอียดของโครงการ. Process. Output. ชื่อ....................... งบประมาณ................ ผู้ดำเนินการ. การวิเคราะห์ 1.
E N D
การเขียนโครงการเชิงกลยุทธ์การเขียนโครงการเชิงกลยุทธ์ (Action plan) ดร.พิสัณห์ นุ่นเกลี้ยง
กระบวนการจัดทำโครงการเชิงกลยุทธ์กระบวนการจัดทำโครงการเชิงกลยุทธ์ Input โครงการ วิเคราะห์โครงการ เขียนรายละเอียดของโครงการ Process Output • ชื่อ....................... • งบประมาณ................ • ผู้ดำเนินการ................
การวิเคราะห์ 1 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงยุทธศาสตร์ 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ (วาระการพัฒนา) Goal KPI Target 58 กลยุทธ์การพัฒนา Project : P
วิสัยทัศน์ : นิยาม นำสู่ภาพฝันในอนาคต(นิยามวิสัยทัศน์) ประเด็นยุทธฯ : เข็มมุ่ง มุ่งจุดยืนวาระการพัฒนา : ตัวชี้วัด มุ่งผลสัมฤทธิ์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ : แนวทาง กระทำตามมาตรการ โครงการ
การวิเคราะห์ 2 การวิเคราะห์ความสำคัญของโครงการ Policy Project Area Data
การวิเคราะห์ 3 การวิเคราะห์หลักการเหตุผล Area Based Collaboration • ที่มา • 3.หลักวิชาการ • รายงานวิจัย • ทฤษฎี/ความจริง • มาตรฐาน • ที่มา • 1.หลักการเชิงนโยบาย • มติธรรม • วาระแห่งชาติ • นโยบายรัฐบาล • กลุ่มจังหวัด • จังหวัด • พิเศษ(เชิงพื้นที่) • ที่มา • ระเบียบ กฎหมาย • ข้อตกลงระหว่างประเทศ • ที่มา • 2.บริบทเชิงพื้นที่ • ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ วิถี
สภาพปัญหา/ความต้องการสภาพปัญหา/ความต้องการ โครงการ ลูกค้าหลักที่ได้ประโยชน์จากโครงการคือ ??? ปัญหา/ความต้องการ/ความเดือดร้อน/ควรจะได้ แนวทางการสนองตอบต่อปัญหา/ความต้องการ
แนวทางในการสนองตอบ • ยึดการกระทำที่สนองปัญหา/ความต้องการ • การจัดสร้าง/จัดหา อุปกรณ์/เครื่องจักรเพื่อการผลิตมุ่งการลดความไม่แน่นอนของผลผลิต • พัฒนาขีดความสามารถในการจัดการกระบวนการผลิตที่มีมาตรฐาน • ......................................
ความเร่งด่วน Fact • สภาพปัญหาที่ผ่านมา ปัจจุบัน อนาคต • ผลกระทบ/ความเสียงหาย/โอกาสที่จะไม่ได้ • การสะท้อนในประเด็นหลักสำคัญของการพัฒนาจังหวัด • ศักยภาพการแข่งขัน การขับเคลื่อนเศรษฐกิจ • ต้นทุนหลักสำคัญ ทรัพยากรสำคัญ • ความต้องการ(ส่วนใหญ่) โครงการ Evidence
การวิเคราะห์ 4 การวิเคราะห์วัตถุประสงค์ของโครงการ (1) SMART Specific : จำเพาะ : เจาะจงผลที่ต้องการบรรลุเพื่อสร้างทัศนคติแก่ผู้ประกอบการรัฐวิสาหกิจชุมชนในการพัฒนาผลผลิตสำหรับการส่งออกสู่อาเซียนเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการรัฐวิสาหกิจชุมชน(1)ให้มีความสามารถในการผลิตสินค้า(2)ที่ได้มาตรฐานส่งออกสู่อาเซียน(3) (ฮาลาล) (ดูได้จากสไลด์ที่ 7) Measurable วัดผลได้ Ability ความสามารถในการกระทำให้บรรลุ/ได้(ดีกว่าเดิม)/(คุ้มค่า)
Reasonable ความมีเหตุมีผล • สอดคล้องกับปัญหา/ความต้องการของลูกค้า • สอดคล้องกับสภาพการณ์จริง • สอดคล้องกับที่มา Timely กรอบเวลา ความสามารถในการแสดงให้เห็นได้ว่าผลสัมฤทธิ์ Op+Oc บรรลุผลเมื่อประเมินโครงการ
โครงการเชิงพัฒนา Cluitiative Based มุ่งสร้างวัฒนธรรมก้าวกระโดด (Clunovatice Based) มุ่งเทียบเคียงกับผู้ที่ปฏิบัติได้ดี/สำนักงาน(Benchmark Based) มุ่งสร้างสรรค์สิ่งใหม่ (Value Creation) (Creative Based) มุ่งกระทำให้แตกต่าง ดีกว่าเดิม (Improvement Based)เกิดคุณภาพ (Value Added) มุ่งกระทำในการแก้ปัญหาสำคัญให้หมดไป/น้อยลงจนไม่คุกคามต่อลูกค้า / จังหวัด (Problem Based)
การวิเคราะห์ 7 การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายและผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้ที่ได้ประโยชน์จากผลผลิต + ผลลัพธ์ของโครงการ ปัญหา/ความต้องการ ความเดือดร้อน ลักษณะทั่วไป โครงการ ลูกค้า จำนวน ข้อมูลพื้นฐานของลูกค้า ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ความเกี่ยวข้องกับโครงการ/ความสำเร็จของโครงการ ผู้ที่ร่วมดำเนินงานกับโครงการ ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ (+ / -)
โครงการ ส่งเสริมและพัฒนาการผลิตพืชเศรษฐกิจของจังหวัด output outcome กลุ่มเป้าหมาย : ได้ผลผลิต : ผลลัพธ์ (1) เกษตรชาวสวนยาง : (ข้อมูลจำเพาะ) (2) เกษตรชาวสวนปาล์ม ข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย - ปริมาณพื้นที่ที่ปลูก - เกษตรกรจำนวน....ราย - รายได้เฉลี่ย - ผลผลิต/ไร่ ความต้องการความเดือดร้อน ปริมาณ/คุณภาพนำส่งแก่กลุ่มเป้าหมาย
ผู้มีส่วนได้เสีย ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ ชุมชนที่อยู่รายล้อมแปลงปลูกยางที่มีการโค่น ปรับพื้นที่ปลูกใหม่และมีการเผาเตรียมพื้นที่ .. จำนวน 10 ชุมชน ชุมชนที่อยู่บริเวณพื้นที่โรงรมยาง ซึ่งได้รับผลกระทบทางด้านกลิ่นจำนวน 800 หลังคาเรือน ผู้ที่กับโครงการ ข้อมูลพื้นฐาน “ ใคร ทำอะไร ที่ไหน”
การวิเคราะห์ 8 การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์โครงการ output ผลผลิต : ผลที่เกิดขึ้นโดยตรงหลังจากเปิดโครงการแล้วเสร็จ โรงบ่มยาง โรงบ่มยาง 1 แห่ง outcome ผลลัพธ์ : ผลที่เกิดจากการนำผลผลิตมาใช้ให้เกิดประโยชน์ - รายได้เกษตรกรชาวสวนยางสูงขึ้น - ต้นทุนรายจ่ายชาวสวนยางลดลง Impact ผลกระทบ : ความเปลี่ยนแปลง / ผลพลอยได้ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตามาหลังจากมี OP/OC แล้ว (+ / - ) – มลพิษ + เศรษฐกิจชุชนดีขึ้น
โครงการ : พัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิต OTOP OP OC IMP ผู้ผลิต OTOPมีความรู้ ทักษะ ในการผลิตสินค้า (มีศักยภาพ) รายได้ของผู้ผลิต OTOP เพิ่มขึ้น + ชุมชน ครอบครัว อยู่ดีกินดี + เศรษฐกิจชุมขน + จ้างงาน มีอาชีพ ผล ไปใช้ประโยชน์
ผลผลิต : เป้าหมายของโครงการ OP KPI 100 % เชิงปริมาณ : จำนวนผู้ผลิต OTOPที่ เข้าร่วมโครงการพัฒนามี ศักยภาพ ผลผลิต OTOPมีความรู้ ทักษะ มีศักยภาพในการผลิตเพื่อส่งออก Target 50 กลุ่ม KPI เชิงคุณภาพ : ร้อยละผู้ผลิต OTOPที่ ผ่านการทดสอบความสามารถ 80 % Target
ผลกระทบ เชิงบวก : - เศรษฐกิจชุมชนดีขึ้น - มีการจ้างงานในชุมชน เชิงลบ : (ไม่มี)
ผลลัพธ์ KPI ปริมาณ : ร้อยละการเพิ่มขึ้นของ การสั่งซื้อสินค้า OTOP Target 15 % รายได้ของผู้ผลิต OTOPเพิ่มขึ้น คุณภาพ : จำนวนรายได้จากผลผลิตสินค้า OTOP(100 ล้านบาท / ปี)
ขั้นตอนที่ 9 การวิเคราะห์กิจกรรม+แนวทางการดำเนินงานของโครงการ โครงการ : พัฒนาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวปัตตานี กิจกรรมสำคัญ : เตรียมพร้อมชุมชนพัฒนาสู่ชุมชนท่องเที่ยว (Tourist Mind) : พัฒนาศักยภาพประชาชนและสร้างวิถีท่องเที่ยวในชุมชน กิจกรรมย่อย แนวทางการดำเนินงาน 5 บันได 1.ลูกค้าต้องการ/เดือดร้อน 2.จัดการ/แก้ปัญหา Stakeholder 3.ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 4.สนองผลสัมฤทธิ์ของโครงการ Input Initiative
กิจกรรมย่อย “Pattani Brand Grand Sales” แนวทางการดำเนินงาน (Initiative) ค้นหาปัญหาสำคัญ ตลาดไม่รู้จักสินค้าตราสัญลักษณ์ปัตตานี แนวทาง • สื่อสารประชาสัมพันธ์สินค้าที่จะจัดจำหน่ายในงาน PBGS ผ่านสื่อวิทยุชุมชน เครือข่ายสิ่งพิมพ์, บิลบอร์ด. ฯลฯ • นำสินค้าปัตตานีไปแสดงโชว์สนามบิน/ด่านชายแดน • มอบสินค้าแก่ผู้ที่มีศักยภาพในการสื่อสารแบรนด์
ค้นหาความแตกต่าง ดีกว่าเดิม เพิ่มเติมมูลค่า เดิม แตกต่าง
ขั้นตอนที่ 10 วิธีการดำเนินงาน จ้างเหมา ทำเอง • อาศัยความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง • พึ่งพาเทคโนโลยีชั้นสูง/เฉพาะ • ความไม่พร้อม 4 M • Man • Money • Material • Management • มีศักยภาพในการดำเนินงานให้บรรลุผลได้ • ความพร้อม 4 M • ความเฉพาะเรื่อง • ความเสี่ยงสูง
ขั้นตอนที่ 11 Project Schedule and Project Cost เริ่มต้น สิ้นสุด รวม
Timely : Schedule • ประเมิน Start – End (โดย P-D-C-A) • บริบทพื้นที่ • ผลสัมฤทธิ์สูงสุดในเวลาที่น้อยที่สุด • วิถีของกิจกรรม • หลักการ/Best Practice/บทเรียน
ขั้นตอนที่ 12 การวิเคราะห์ต้นทุนรายจ่าย และความคุ้มค่าของโครงการ Project Road Map ต้นทุนรายจ่ายโครงการ • 2,800,000 • 3,500,000 • 4,000,000 • 4,500,000 Project Idea
ความคุ้มค่าของโครงการความคุ้มค่าของโครงการ Internal Rate of Return : IRR Social Benefit : SB Ex. เตรียมชุมชนท่องเที่ยว : 2.8 ล้านบาท - 15 ชุมชน สถานะก่อน-หลังทำโครงการ • รายได้จากการท่องเที่ยวชุมชน • ชุมชน 1 ..........บาท • 2 ..........บาท • 3 ..........บาท • 15 .........บาท • การสร้างงาน-อาชีพ • ชุมชน 1 ..........คน • 2 ..........คน • 3 ..........คน • 15 .........คน Fact Reasonable
Improvement Goal
ขั้นตอนที่ 12 (ต่อ) การวิเคราะห์ความพร้อมโครงการ
แหล่งพื้นที่รองรับการกระทำแหล่งพื้นที่รองรับการกระทำ
อนาคตของกำลังคน Man Stakeholder ความเพียงพอ(ปริมาณ) ศักยภาพ
ขั้นตอนที่ 13 การบริหารความยั่งยืนของโครงการ Start Stop 2557 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ก.ย. เตรียมชุมชนท่องเที่ยว (ชุมชน 15 ชุมชน (บุคลากรท่องเที่ยว 500 คน) • Result Transfer • ท้องถิ่น • (1) การเข้ามาดูแล/ดำเนินการต่อ ในพื้นที่ • ภาคประชาสังคม • (1) พัฒนาไปสู่วิสาหกิจชุมชน • Sustainable • ผลักดันให้เป็นข้อบังคับชุมชน • จัดทำเป็นข้อบัญญัติของท้องถิ่น • Utilization • แต่งตั้งเป็นไกด์ท่องเที่ยว • พัฒนาสู่อาสารักษาแหล่งท่องเที่ยว
ขั้นตอนที่ 14 ปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไข กำลังคน โครงการ ลักษณะของแนวทางการดำเนินงานของกิจกรรม ความเสี่ยงของโครงการ
การวิเคราะห์ มีส่วนร่วมกำลังคน +กลุ่มเป้าหมาย ผู้มีส่วนได้ฯ วิเคราะห์ความสมบูรณ์ (Analysis : Verify)
กำหนดวัน ................................. ....................................................................................................................................................................................................................................... เติม KUSA วิเคราะห์ 1-14 การวิเคราะห์ 15 (มีส่วนร่วม) การตรวจทานความสมบูรณ์จากกลุ่มยุทธฯ การตรวจสอบจากคณะอนุกรรมการ พิจารณาจาก กบจ. จัดทำโครงการสมบูรณ์ โครงการพร้อมเสร็จสรรพ