1 / 22

Solar Map

Solar Map. นำเสนอโดย นางสาวนวพรรษ คำไส สาขาเทคโนโลยีพลังงาน 48400806. วิธีการสร้างแผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์. จัดเตรียมข้อมูลทางดาวเทียม โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา เลือกแบบจำลอง คำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์ต่าง ๆ สำหรับแบบจำลองที่เลือกใช้ ทดสอบแบบจำลอง

saber
Download Presentation

Solar Map

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Solar Map นำเสนอโดย นางสาวนวพรรษ คำไส สาขาเทคโนโลยีพลังงาน 48400806

  2. วิธีการสร้างแผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์วิธีการสร้างแผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ • จัดเตรียมข้อมูลทางดาวเทียม โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา • เลือกแบบจำลอง • คำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์ต่าง ๆ สำหรับแบบจำลองที่เลือกใช้ • ทดสอบแบบจำลอง • คำนวณหาค่าความเข้มรังสีอาทิตย์ตามพื้นที่ต้องการ • จัดทำแผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์

  3. ข้อมูลที่ได้จากดาวเทียมข้อมูลที่ได้จากดาวเทียม กรมอุตุนิยมวิทยาของไทยรับสัญญาณดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาทั้ง 2 ระบบ คือ ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาชนิดวงโคจรค้างฟ้าของดาวเทียม GMSประเทศญี่ปุ่น และดาวเทียมอุตุนิยมวิทยาชนิดโคจรรอบโลก) ของดาวเทียม NOAA (National Oceanic and Atmospheric Administration)ของประเทศสหรัฐอเมริกา

  4. รูปตัวอย่างจากดาวเทียมอุตุนิยมวิทยารูปตัวอย่างจากดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา

  5. การจัดเตรียมข้อมูลความเข้มรังสีดวงอาทิตย์จากสถานีวัดการจัดเตรียมข้อมูลความเข้มรังสีดวงอาทิตย์จากสถานีวัด 1. การวัดรังสีรวม มีเครื่องมือซึ่งเรียกว่า ไพราโนมิเตอร์ ซึ่งจะแตกต่างกัน ออกไปตามชนิดของ sensor ดังนี้ Thermomechanical Sensor หรือ Bimetallic Thermoelectric Sensor หรือThermopile photoelectricsensor

  6. การจัดเตรียมข้อมูลความเข้มรังสีดวงอาทิตย์จากสถานีวัดการจัดเตรียมข้อมูลความเข้มรังสีดวงอาทิตย์จากสถานีวัด 2. การวัดความยาวนานแสง ข้อมูลที่ได้สามารถนำไปใช้คำนวณค่าความเข้มแสงได้ เช่นเดียวกับการใช้ไพราโนมิเตอร์ และนิยมใช้มากกว่าเนื่องจากเครื่องมือวัดราคาไม่แพง มากนักและทำการวัดง่ายกว่า เครื่องมือที่ใช้วัดมี 2 แบบดังนี้ Compbell Stokes Solid State Sensor

  7. การจัดเตรียมข้อมูลความเข้มรังสีดวงอาทิตย์จากสถานีวัดการจัดเตรียมข้อมูลความเข้มรังสีดวงอาทิตย์จากสถานีวัด 3. ระบบการบันทึกข้อมูลรังสีดวงอาทิตย์ แบ่งเป็นแบบต่าง ๆ ดังนี้ Chart recorder Solar integrator Data Logger

  8. แผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของโลกแผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของโลก

  9. แผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทยแผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทย • แผนที่เดือนมกราคม ภาคเหนือจะมีค่าโดนเฉลี่ยต่ำกว่าภาคอื่น ๆ โดยมีค่ารังสีรวมรายวันเฉลี่ยต่อเดือนในช่วง 15- 16 MJ/m2-day เนื่องจากดวงอาทิตย์จะอยู่ห่าง จากเส้นสูตรท้องฟ้าประมาณ 20 องศา ทางด้าน ซีกฟ้าใต้ ทำให้ค่ามุมตกกระทบรังสีดวงอาทิตย์ใน ภาคเหนือมีค่ามากกว่าภาคอื่น ๆภาคใต้ตอนล่าง ฝั่งตะวันตกเข้มรังสีดวงอาทิตย์ช่วง 20-21 MJ/m2-day

  10. แผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทยแผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทย • แผนที่เดือนกุมภาพันธ์ ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาค กลางมีการกระจายของความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ คล้ายคลึงกัน คือส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 16-19 MJ/m2-day ภาคใต้ตนล่างฝั่งตะวันตก มีค่าความเข้มรังสีดวง อาทิตย์มากที่สุดอยู่ในช่วง 20-21 MJ/m2-day แต่ภาคใต้ฝั่งตะวันออกมีค่าความเข้มรังสีสูงกว่า กรณีของเดือนมกราคม เนื่องจากได้รับอิทธิพลจาก ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือน้อย

  11. แผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทยแผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทย • แผนที่เดือนมีนาคม ดวงอาทิตย์จะอยู่บริเวณเส้นศูนย์สูตร ท้องฟ้า มุมตกกระทบของรังสีดวงอาทิตย์ ตอนเที่ยงวันจะตั้งฉากหรือเกือบตั้งฉากกับ พื้นผิวโลกของบริเวณภาคใต้ ดังนั้นในภาคใต้ จะมีความเข้มรังสีดวงอาทิตย์โดยเฉลี่ยสูงกว่า ภาคอื่น ๆ โดยเฉพาะภาคใต้ฝั่งตะวันตก บริเวณภูเก็ต พังงา กระบี่ มีความเข้มสูงกว่า 24 MJ/m2-day

  12. แผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทยแผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทย • แผนที่เดือนเมษายน ในเดือนเมษายนมุมตกกระทบของรังสีดวง อาทิตย์เวลาเที่ยง เกือบตั้งฉากกับพื้นที่ทั่ว ประเทศ และพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศยัง อยู่ในช่วงฤดูแล้ง มีเมฆน้อย ท้องฟ้าแจ่มใส ดังนั้นโดยทั่วไปรังสีดวงอาทิตย์มีค่าค่อนข้าง สูงทั่วประเทศ กล่าวคือส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 20-21 mJ/m2-day

  13. แผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทยแผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทย • แผนที่เดือนพฤษภาคม ภาคกลาง ซึ่งยังคงได้รับอทธิพลจากลม มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ค่อนข้างน้อยทำให้ค่า ความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ยังคงสูง ส่วนใหญ่ ในช่วง 20-24 MJ/m2-day ภาคใต้ฝั่งตะวันตกและภาคตะวันออตราด เริ่มได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ทำให้ท้องฟ้ามีเมฆปกคลุมมากและบางวันมีฝน ตก ทำให้บริเวณดังกล่าวมีความเข้มรังสีอาทิตย์ ลดลง

  14. แผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทยแผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทย • แผนที่เดือนมิถุนายน อิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ต่อความ เข้มของรังสีดวงอาทิตย์ในบริเวณต่าง ๆ ของ ประเทศไทยสูงขึ้น โดยเฉพาะในภาคใต้ภาคตะวัน ออกและบริเวณตะวันตกของภาคกลางและภาคเหนือ ทำให้ความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ในบริเวณดังกล่าวมีค่า ลดลงจากกรณีเดือนพฤษภาคม ส่วนบางบริเวณของ ภาคกลาง ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งอยู่ลึกเข้าไปในแผ่นดินยังคงมีแถบของความเข้ม รังสีดวงอาทิตย์ในช่วง 18-20 MJ/m2-day แผ่ กระจายอยู่บางส่วนของพื้นที่

  15. แผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทยแผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทย • แผนที่เดือนกรกฎาคม โดยทั่วไปในเดือนนี้พื้นที่ทั่วประเทศ ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้ ทำให้มีเมฆและฝนกระจายอยู่ทั่วประเทศ ซึ่ง เป็นผลทำให้ค่าความเข้มรังสีดวงอาทิตย์มีค่า ลดลง กล่าวคือมีค่าส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 15-17 mJ/m2-day แต่อย่างไรก็ตามยังคงมีหย่อม ขนาดเล็กที่มีค่าความเข้มรังสีดวงอาทิตย์สูง อยู่ในช่วง 20-21 MJ/m2-day

  16. แผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทยแผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทย • แผนที่เดือนสิงหาคม การกระจายของความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ของ เดือนสิงหาคม พื้นที่ทั่วประเทศยังคงอยู่ใน อิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ลักษณะ การกระจายของความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ทั่ว ประเทศคล้ายกับกรณีของเดือนกรกฎาคม โดย บริเวณความเข้มสูง 20-21 MJ/m2-day จะปรากฏเป็นหย่อมเล็กลงที่ภาคกลางและตอน ใต้ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

  17. แผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทยแผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทย • แผนที่เดือนกันยายน การกระจายของความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ ของเดือนกันยายน ถึงแม้ว่าดวงอาทิตย์จะ เคลื่อนตัวมาอยู่ที่ศูนย์สูตรท้องฟ้าท้องฟ้า แต่ พื้นที่ทั่วประเทศยังถูกปกคลุมด้วยเมฆอัน เนื่องมาจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ทำให้ พื้นที่ทุกภาคของประเทศมีค่าความเข้มรังสีดวง อาทิตย์ค่อนข้างต่ำ กล่าวคือส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 15-17MJ/m2-day

  18. แผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทยแผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทย • แผนที่เดือนตุลาคม ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะเริ่ม ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมะวันออกเฉียงเหนือ ทำให้ปริมาณฝนลดลงและท้องฟ้าแจ่มใส แต่ก็ เป็นช่วงเวลาเดียวกับดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ไปอยู่ทาง ใต้ของเส้นศูนย์สูตรท้องฟ้าทำให้รังสีดวงอาทิตย์ที่ ตกกระทบมีค่าลดลงจากเดือนกันยายน ส่วน ภาคใต้ยังคงมีฝนกระจายทั่วไป ความเข้มรังสี ดวงอาทิตย์จึงค่อนข้างต่ำ กล่าวคืออยู่ในช่วง 13-16 MJ/m2-day

  19. แผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทยแผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทย • แผนที่เดือนพฤศจิกายน พื้นที่ทั่วประเทศได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมะวัน ออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะบริเวณภาคใต้ฝั่งตะวันออก ซึ่งได้รับอิทธิพลค่อนข้างมาก ทำให้ท้องฟ้ามีเมฆปก คลุม รังสีดวงอาทิตย์ที่ตกกระทบจึงมีค่าน้อยกว่า ภาคใต้ฝั่งตะวันตก ส่วนภาคเหนือท้องฟ้าจะมีสภาพ ของฟ้าหลัว ซึ่งทำให้ความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ที่ได้รับมี ค่าน้อยลง ส่วนภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีการกระจายของความเข้มรังสีดวงอาทิตย์คล้ายคลึง กัน คือ อยู่ในช่วง 16-18 MJ/m2-day

  20. แผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทยแผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทย • แผนที่เดือนธันวาคม ดวงอาทิตย์เคลื่อนตัวไปอยู่ตอนใต้ของเส้นศูนย์ สูตรท้องฟ้ามากที่สุด ทำให้รังสีดวงอาทิตย์นอก บรรยากาศโลกบริเวณภาคใต้จะมากกว่าบริเวณภาค กลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือแต่ ภาคใต้ได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมะวันออกเฉียง เหนือทำให้ท้องฟ้ามีเมฆมาก รังสีดวงอาทิตย์ที่ตก กระทบพื้นผิวโลกจึงมีค่าน้อย ลักษณะโดยทั่วไป ของการกระจายรังสีดวงอาทิตย์ของเดือนธันวาคม จะคล้ายกับเดือนพฤศจิกายน

  21. แผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทยแผ่นที่พลังงานแสงอาทิตย์ของไทย รังสีแสงอาทิตย์สูงสุดระหว่างเดือนเมษายนถึง พฤษภาคม โดยมีค่าอยู่ในช่วง 20–24MJ/m2-day และบริเวณที่ได้รับรังสีดวงอาทิตย์สูงสุดเฉลี่ยทั้งปีอยู่ ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเมื่อทำการเฉลี่ยความเข้ม ของรังสีอาทิตย์ทั่วประเทศจากทุกจากประเทศอื่น ๆ จะ พื้นที่เป็นค่ารายวันเฉลี่ยต่อปี จะเท่ากับ 18.2 MJ/m2-day จากการนำค่าดังกล่าวมาเปรียบเทียบกับ ข้อมูลเห็นว่าประเทศไทยมีศักยภาพของพลังงาน แสงอาทิตย์ค่อนข้างสูง

  22. ศักยภาพของพลังงานเมื่อเทียบกับน้ำมันศักยภาพของพลังงานเมื่อเทียบกับน้ำมัน • ความเข้มแสง และศักยภาพเชิงพลังงานแสงอาทิตย์ทั่วประเทศเมื่อเฉลี่ยต่อวันจะมีค่าประมาณ 18.2 (เมกะจูล/ ตารางเมตร.วัน)ศักยภาพเชิงพลังงาน 554,070.6 พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ

More Related