150 likes | 367 Views
การทบทวนลักษณะสำคัญขององค์กร (Organization Profile) กรมอนามัย. โดย กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย. อำนาจหน้าที่ กรมอนามัย ตามกฎกระทรวงฯ(ปัจจุบัน). 1) ดำเนินการตาม กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
E N D
การทบทวนลักษณะสำคัญขององค์กร (Organization Profile)กรมอนามัย โดย กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
อำนาจหน้าที่ กรมอนามัย ตามกฎกระทรวงฯ(ปัจจุบัน) 1) ดำเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุขและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง 2) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีการสร้างเสริมสุขภาพและการจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อสุขภาพ รวมทั้งการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 3) กำหนดและพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานและกฎเกณฑ์ รวมทั้งการรับรองมาตรฐานการสร้างเสริมสุขภาพและการจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อสุขภาพ 4) พัฒนาระบบและกลไกเครือข่ายในการเฝ้าระวังและการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพทั้งในระดับชาติ ระดับท้องถิ่น ระดับโครงการหรือกิจกรรมใดๆ 5) พัฒนาระบบและกลไกการดำเนินงานให้เป็นไปตามกฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบ 6) ถ่ายทอดและเผยแพร่องค์ความรู้และเทคโนโลยีการสร้างเสริมสุขภาพและการจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อสุขภาพ และการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพแก่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและประชาชน 7) ส่งเสริมและพัฒนาขีดความสามารถและการมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพ การจัดการสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ และการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพแก่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชน 8) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกรมอนามัย หรือตามที่กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
วิสัยทัศน์กรมอนามัย (พ.ศ. 2551-2554) “องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ ปชช.มีสุขภาพดี”
Corporate CulturePillars : เสาหลักวัฒนธรรม กรมอนามัย“H E A L T H ”
กรมอนามัย วิสัยทัศน์ “เป็น องค์กรหลักของประเทศ ในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี” พันธกิจ 1) การผลิต พัฒนาองค์ความรู้ และ นวัตกรรม เพื่อการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีคุณภาพและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนไทย (Innovation and Technical Development) 3) การถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้กับเครือข่าย รวมไปถึงการผลักดันและสนับสนุนให้เครือข่ายดำเนินงานเป็นไปตามมาตรฐานและกฎหมาย (Supporting and Facilitating) 2) การพัฒนา ผลักดัน และสนับสนุนให้เกิดนโยบาย และ กฎหมายที่จำเป็น ในด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ(Policy and Regulation Advocacy) 4) การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เข้มแข็ง รวมไปถึงระบบที่เกี่ยวข้อง โดยการเฝ้าระวัง กำกับ ติดตาม และประเมินผล เพื่อนำมาสู่การพัฒนานโยบายกฎหมาย และ ระบบอย่างต่อเนื่องและมีคุณภาพ(System Capacity Building)
4 ศูนย์การพัฒนาขีดความสามารถของเครือข่ายและประชาชน เป็นผู้แทน / ศูนย์ความร่วมมือระหว่างประเทศ 5 วิสัยทัศน์กรมอนามัย “เป็น องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี” องค์กรหลัก 1 3 เป็นศูนย์องค์ความรู้ / Technology /นวัตกรรม เป็นแกนหลักในการพัฒนาความเข้มแข็งของระบบงาน เป็นหลักในการสร้าง/ผลักดันนโยบายและกฎหมาย 2
วิสัยทัศน์ เป็นต้นแบบในการพัฒนาระบบราชการของกระทรวงสาธารณสุข ส่งเสริมสนับสนุน ผลักดัน และพัฒนาระบบการบริหารของกรมอนามัย ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ มีประสิทธิภาพ คุ้มค่า ตามหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน พันธกิจ การพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กร เพื่อนำไปสู่การเป็นองค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง (High Performance Organization: HPO) ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ HPO อย่างไร 1. เพื่อพัฒนาระบบราชการของกรมอนามัยให้สัมฤทธิ์ผลตามเกณฑ์ การประเมินการปฏิบัติราชการของสำนักงาน ก.พ.ร. 2. เพื่อการพัฒนาระบบการบริหารจัดการของกรมอนามัย ตามเกณฑ์พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ณ ปี 2551
วิสัยทัศน์“เป็นองค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี” เป้าประสงค์ที่ 2 เป้าประสงค์ที่ 1 การบริหารจัดการองค์กรที่ดี ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพและจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมให้กับประชาชน RM1 พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA) ส่งเสริมการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ลดปัจจัยเสี่ยงเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก แก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ประสิทธิผล ตามพันธกิจ ผู้รับบริการและภาคีเครือข่ายมีความพึงพอใจในสินค้าและบริการขององค์กร ภาคีเครือข่าย มีความสามารถในการนำผลผลิตและบริการ ไปใช้กับกลุ่มเป้าหมาย หน่วยงานในสังกัดพึงพอใจการใช้ PMQA ในการบริหารจัดการองค์กร คุณภาพ การให้บริการ RM2 กบง. สร้างคุณค่า/สนบัสนุนได้ตามเกณฑ์ SOP การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี • การพัฒนามาตรฐาน/กม./นโยบาย • การพัฒนาเฝ้าระวัง ติดตามประเมินผล • การถ่ายทอดเทคโนโลยี / สื่อสารสาธารณะ • การสร้างวิทยากรมืออาชีพ /จัดซื้อจัดจ้าง • การป้องกันปราบปรามทุจริต • การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร • ระบบตรวจสอบภายใน • การบริหารความเสี่ยง RM3 • การเบิกจ่ายงบลงทุน • ระบบต้นทุนต่อหน่วยฯ • การประหยัดพลังงาน ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ RM5 RM4 RM6 PMQA การกำกับดูแลองค์กรที่ดี(4ด้าน) การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ &ถ่ายทอดเป้าหมาย การจัดการความรู้(ตามแผน 3 เรื่อง) บุคลากรได้รับการพัฒนา ขีดสมรรถนะรองรับยุทธศาสตร์ตามแผน การพัฒนา องค์กร การสร้างสัมพันธ์กับ C/SH ระบบฐานข้อมูลสนับสนุนยุทธศาสตร์ ที่ครอบคลุม ถูกต้องและทันสมัย RM10 RM9 RM8 RM7
แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) ของกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย • Vision : เป็นต้นแบบในการพัฒนาระบบราชการของกระทรวงสาธารณสุข เป้าประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กรที่ดี เพื่อนำไปสู่การเป็นองค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง (High Performance Organization: HPO) เพื่อการพัฒนาระบบการบริหารจัดการของกรมอนามัยตามเกณฑ์ PMQA(หมวด 3, 6 และ 7) มิติประสิทธิผล เพื่อพัฒนาระบบราชการของกรมอนามัยให้สัมฤทธิ์ผลตามเกณฑ์การประเมินการปฏิบัติราชการของสำนักงาน ก.พ.ร. มิติตุณภาพบริการ เพื่อให้หน่วยงานในสังกัดกรมอนามัยมีการจัดทำคำรับรองฯต่ออธิบดี เพื่อให้หน่วยงานในสังกัดกรมอนามัยพึงพอใจในการพัฒนาระบบราชการตามเกณฑ์ PMQA พัฒนากระบบวนงานให้ได้ มราตรฐาน SOP พัฒนาระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มิติประสิทธิภาพ • - การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร • - การป้องกันและปราบปรามทุจริต • - การควบคุมภายใน • - การเบิกจ่ายงบประมาณ • - การประหยักพลังงาน • - การวิจัยพัฒนาองค์ความรู้ • - การถ่ายทอดองค์ความรู้ • - การจัดซื้อจัดจ้าง • - การประสานงานและติดตามผล มิติ พัฒนาองค์กร พัฒนาระบบการสื่อสารภายในองค์กร พัฒนาระบบการถ่ายทอดเป้าหมายสู่บุคคล พัฒนาระบบการจัดการความรู้ขององค์กร พัฒนาขีดสมรรถนะบุคลากรตามแผน