1 / 47

ELECTROCARDIOGRAM

ELECTROCARDIOGRAM. ELECTROCARDIOGRAM. FOR CPR. By Sineenad MD. Surat MD. FOR CPR. OUTLINE. ความรู้พื้นฐานของคลื่นไฟฟ้าหัวใจและวิธีการตรวจคลื่นหัวใจ. คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ปกติและการแปลผลเบื้องต้น. คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ผิดปกติในผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น.

reyna
Download Presentation

ELECTROCARDIOGRAM

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ELECTROCARDIOGRAM ELECTROCARDIOGRAM FOR CPR By Sineenad MD. Surat MD. FOR CPR

  2. OUTLINE ความรู้พื้นฐานของคลื่นไฟฟ้าหัวใจและวิธีการตรวจคลื่นหัวใจ คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ปกติและการแปลผลเบื้องต้น คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ผิดปกติในผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้น คลื่นไฟฟ้าหัวใจที่ผิดปกติที่เป็นภาวะฉุกเฉินบางชนิดที่ควรทราบ

  3. ความรู้พื้นฐานของคลื่นไฟฟ้าหัวใจความรู้พื้นฐานของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ และวิธีการตรวจคลื่นหัวใจ

  4. SA node AV node His bundle bundle branch Purkinje fibers ventricular myocardium

  5. วิธีตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจวิธีตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ LIMB LEAD 1.Bipolar leads Lead I - ความต่างศักย์ระหว่างแขนขวากับแขนซ้าย Lead II - ความต่างศักย์ระหว่างแขนขวากับขาซ้าย Lead III - ความต่างศักย์ระหว่างแขนซ้ายกับขาซ้าย 2. Augmented Unipolar leads Lead aVR - วัด voltage ของแขนขวา Lead aVL - วัด voltage ของแขนซ้าย Lead aVF - วัด voltage ของขาซ้าย

  6. วิธีตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจวิธีตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ

  7. วิธีตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจวิธีตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ CHEST LEAD วัด voltage ในแนว horizontal ที่จุดต่างๆ ที่ V1-V6 เทียบกับ central terminal

  8. วิธีตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจวิธีตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ CHEST LEAD V1 ช่องซี่โครงที่4ขอบขวาของกระดูกsternum V2 ช่องซี่โครงที่4ขอบซ้ายของกระดูกsternum V3 อยู่กึ่งกลางระหว่างV2และV4 V4 ช่องซี่โครงที่5แนวกึ่งกลางclavicleข้างซ้าย V5 ระดับเดียวกับV4แนวanterior axillary line V6 ระดับเดียวกับV4แนวmidaxillary line V3Rอยู่กึ่งกลางระหว่างV1และV4R V4Rช่องซี่โครงที่5แนวกึ่งกลางclavicleข้างขวา

  9. ECG ปกติ และการแปลผล

  10. P wave - เกิดจาก atrial deporalization โดยเริ่มจาก SA node กระจายไปทั่ว atrium ทั้งซ้ายและขวา - ปกติกว้างไม่เกิน0.12 sec ( 3 ช่องเล็ก ) - ปกติหัวตั้ง( 3 ช่องเล็ก) lead I, II ,V4-V6,aVF และ หัวกลับใน lead aVR ส่วน lead อื่นๆ ไม่แน่นอน

  11. PR interval - เกิดจาก atrial depolarization(P wave)และ การdelayการนำไฟฟ้าของAV junctional area(AV node&His bundle) - ปกติ 0.12-0.20sec(3-5ช่องเล็ก)

  12. QRS complex • เกิดจาก ventricular depolarization ปกติ 0.06-010 sec ( 1.5-2.5 ช่องเล็ก ) • Q ปกติไม่ควรเกิน 1 mm • Q 1-2 mm สามารถพบได้ใน lead I , aVL , aVF , V5 , V6 • QRS สูงไม่เกิน 5 mmใน limb lead • QRS สูงไม่เกิน 5 mmในchest lead

  13. ST segment - ปกติอยู่ในแนวเดียวกับ isoelectric line หรือสูงหรือต่ำกว่าแนวปกติเล็กน้อย และปกติสูงได้ไม่เกิน 1mmใน limb leads และไม่เกิน 2mm ในchest leads และปกติต่ำได้ไม่เกิน 0.5mm จากแนว isoelectric

  14. T WAVE • เกิดจาก ventricular repolarization • ปกติ upright ใน lead1,2,V3 to V6 ,inverted in • aVR variable in lead 3,aVL,aVF,V1,V2(inverted • T in V1,V2 พบได้บ่อย) • รูปร่างปกติ T wave จะมนและไม่สมมาตรเล็กน้อย • - ปกติ ไม่เกิน 5mm in limb leads ความสูงไม่เกิน10mm in chest leads

  15. U WAVE -U wave ปกติพบได้ใน lead V2-V4,ขนาดน้อยกว่า 0.2mV และมีทิศทางไปทางเดียวกับT wave

  16. การแปลผล ECG 1.Rate 2.Rhythm 3.P wave 4.PR interval 5.QRS interval 6.QRS complex 7.ST segment 8.T wave 9.U wave

  17. Paper Velocity = 25 mm/ 1 sec ( 1mm=1 ช่องเล็ก) = 25 ช่องเล็ก *60 /min =1500 ช่องเล็ก /min =300 ช่องใหญ่ /min Then 1 mm = 1* 1 /25 = 0.04 sec

  18. 10 ช่องเล็ก( 2 ช่องใหญ่ ) RATE Heart rate / min = 1500 = 300 = 150 ครั้ง/ นาที 10 2

  19. Normal sinus Rhythm 1. P นำ QRS ทุกครั้ง 2. จังหวะการเต้นสม่ำเสมอ PP และ RR interval มีค่าคงที่ และ PR interval ปกติ (3-5 ช่องเล็ก) 3. P wave รูปร่างปกติและเหมือนกัน และหัว ตั้งใน Lead I, II, aVF หัวกลับใน aVR 4. PR, QRS ปกติทั้งระยะเวลาและรูปร่าง 5. Rate 60-100/min

  20. Normal Sinus Rhythm www.uptodate.com Implies normal sequence of conduction, originating in the sinus node and proceeding to the ventricles via the AV node and His-Purkinje system. EKG Characteristics: Regular narrow-complex rhythm Rate 60-100 bpm Each QRS complex is proceeded by a P wave P wave is upright in lead II & downgoing in lead aVR

  21. Arrythmia

  22. Tachycardia Narrow QRS cpx Wide QRS cpx

  23. Narrow QRS cpx Irregular Regular No P wave P wave Sinus tachycardia A flutter PSVT AF PAC MAT AT with block A.Flutter + block AVNRT AVRT AT

  24. Sinus Tachycardia - Rate มากกว่า 100 ครั้ง/นาที จังหวะการเต้นสม่ำเสมอ - P wave นำหน้า QRS complex ทุกตัว - PR ปกติ คงที่ รักษาที่สาเหตุ

  25. ATRIAL FLUTTER

  26. SVT with AVNRT อัตราการเต้นสม่ำเสมอ 150-250 ครั้ง/นาที จังหวะการเต้นของเอเตรียมและเวนตริเคิลสม่ำเสมอเท่ากัน มักจะไม่เห็น p wave เนื่องจากเต้นเร็วมาก คล้าย sinus tachycardia แต่ไม่เห็น p wave

  27. Narrow QRS cpx Irregular Regular No P wave P wave Sinus tachycardia A flutter PSVT AF PAC MAT AT with block A.Flutter + block AVNRT AVRT AT

  28. Atrial fibrillation P wave ไม่ชัดเจน ไม่สม่ำเสมอ อาจนับได้ 350-700 ครั้ง/นาที ventricular rate มักจะไม่สม่ำเสมอ ถ้า >100 ครั้ง ( บางตำราเอามากกว่า 90 ) เรียกว่า Rapid vent. Response (RVR)

  29. Tachycardia Narrow QRS cpx Wide QRS cpx - V. tachycardia

  30. VENTRICULAR TACHYCARDIA Ventricular rate 110-220 bpm Rhythm ค่อนข้าง regular อาจไม่สม่ำเสมอบ้าง ถ้าอัตราการเต้นเร็วมากอาจไม่เห็น P wave QRS กว้าง มากกว่า 3 ช่องเล็ก

  31. Symptomatic BRADYCARDIA

  32. First degree AV block จังหวะการเต้นสม่ำเสมอ Low grade AV block P wave ตามด้วย QRS ทุกครั้ง PR interval ยาวคงที่ แต่ยาวมากกว่าปกติ( 0.2 sec )

  33. Second degree AV block Type I อัตราการเต้น p wave คงที่และสม่ำเสมอ แต่อัตราของเวนตริเคิลน้อยกว่าและไม่สม่ำเสมอ PR interval ยางขึ้นตามลำดับ จน QRS หายไป ( ไม่สามารถผ่านไปได้ ) เกิดเป็นชุดๆ

  34. Second degree AV block Type II อัตราการเต้น p wave คงที่และสม่ำเสมอ แต่อัตราของเวนตริเคิลน้อยกว่าซึ่งอาจสม่ำเสมอหรือไม่สม่ำเสมอก้อได้ P wave รูปร่างปกติ และอย่างน้อยต้องมี p wave 2 อันติดกันที่มี QRS ตามหลัง PR interval อาจปกติหรือยาวกว่าปกติก็ได้แต่คงที่ตลอด High grade AV block

  35. Third degree AV block Atrial rate( P wave ) และ Ventricular rate ( QRS ) คงที่และสม่ำเสมอ แต่ ventricular < atrial • QRS ไม่สัมพันธ์กับ P wave • PP, RR คงที่ แต่ PR เปลี่ยนแปลง

  36. VENTRICULAR FIBRILLATION

  37. VENTRICULAR FIBRILLATION ไม่มี P wave Baseline ขยุกขยิกเป็น fibrillatory wave ไม่มี QRS complex

  38. VENTRICULAR TACHYCARDIA Ventricular rate 110-220 bpm Rhythm ค่อนข้าง regular อาจไม่สม่ำเสมอบ้าง ถ้าอัตราการเต้นเร็วมากอาจไม่เห็น P wave QRS กว้าง มากกว่า 3 ช่องเล็ก

  39. PULSELESS ELECTRICAL ACTIVITY ( PEA ) เหมือน NSR แต่คนไข้คลำ pulse ไม่ได้ ( arrest )

  40. ASYSTOLE

  41. Ischemia / Infarction • What ‘s Pathological Q wave ? - Abnormal Q must be one small square (0.04 sec) wide and greater than one-fourth of R wave height

  42. Ischemia / Infarction • ST segment elevation in MI ST elevation >1 mm in two contiguous limb leads or >2mm in two contiguous chest leads : Convex

  43. Ischemia / Infarction • Anatomical relationship of leads • Inferior wall Leads II, III, and aVF • Septal wall Leads V1 to V2 • Anterior wall Lead V3-V4 • Lateral wall Leads V5, and V6 I, aVL,

More Related