1.51k likes | 5.09k Views
สมบัติวรรณคดี. วรรณคดี มรดก. วรรณกรรม. วรรณคดี. - วรรณกรรมที่มีคนอ่านแล้วอ่านอีกและถ่ายทอดสืบต่อกันมาช้านาน เป็นผลงานที่บรรพบุรุษสร้างสรรค์และสืบทอดมาถึงลูกหลาน. คือ ผลงานสร้างสรรค์ที่เกิดจากความรู้สึกและความนึกคิดของมนุษย์. คือ วรรณคดีที่ได้รับยกย่องว่า แต่งดี.
E N D
วรรณคดี มรดก วรรณกรรม วรรณคดี - วรรณกรรมที่มีคนอ่านแล้วอ่านอีกและถ่ายทอดสืบต่อกันมาช้านานเป็นผลงานที่บรรพบุรุษสร้างสรรค์และสืบทอดมาถึงลูกหลาน คือ ผลงานสร้างสรรค์ที่เกิดจากความรู้สึกและความนึกคิดของมนุษย์ คือ วรรณคดีที่ได้รับยกย่องว่า แต่งดี - เป็นผลงานที่มีคุณค่าควรแก่การศึกษา เพราะมีเวลาเป็นเครื่องตัดสิน
วรรณคดีมุขปาฐะ วรรณคดีลายลักษณ์ อักษร คือ วรรณคดีที่มีการจดบันทึกไว้ในต้นฉบับสมุดไทย ต้นฉบับใบลาน หรือมีการพิมพ์เผยแพร่แล้ว คือ วรรณคดีที่ถ่ายทอดสืบต่อกันมาปากต่อปาก เช่น นิทานพื้นบ้าน เพลงพื้นบ้าน บทร้องเล่นของเด็ก
วรรณคดีจำแนกตามแหล่งที่สร้างสรรค์วรรณคดีจำแนกตามแหล่งที่สร้างสรรค์ วรรณคดีราชสำนัก เป็นผลงานของกษัตริย์ หรือ ข้าราชบริพาร วรรณคดีท้องถิ่น
วรรณคดีร้อยกรอง วรรณคดีร้อยแก้ว หมายถึง คำประพันธ์ที่เรียบเรียงให้เป็นระเบียบถูกต้องตามฉันทลักษณ์ โดยเน้นจังหวะของเสียงซึ่งเกิดจากการกำหนดพยางค์ เป็นวรรค เป็นบาท หรือเป็นบท การสลับน้ำเสียงหนักเบา การกำหนดระดับเสียงโดยบังคับสัมผัส หมายถึง คำประพันธ์ที่ไม่กำหนดบังคับตามฉันทลักษณ์ แต่จะใช้เพื่อเพิ่มความไพเราะก็ได้ วรรณคดีร้อยแก้วเน้นความสละสลวยไพเราะเหมาะเจาะด้วยเสียงและความหมาย
คุณค่าของวรรณคดี วรรณคดีมีบทบาทเหมือนงานศิลปะอื่น ๆ คือสร้างความบันเทิงใจและ ความจรรโลงใจ สร้างความบันเทิงใจคือ เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ความจรรโลงใจคือ การยกระดับจิตใจของผู้อื่นให้มีจิตใจที่ขัดเกลาและอารมณ์ที่กล่อมเกลา คุณค่าด้านอารมณ์ คุณค่าด้านคุณธรรม - สมัยสุโขทัย - สมัยอยุธยา - กรุงธนบุรี - รัตนโกสินทร์
เนื้อหาวรรณคดีไทย • วรรณคดีพุทธศาสนา • วรรณคดีสุภาษิตคำสอน • วรรณคดีเกี่ยวกับประเพณีและพิธีกรรม • วรรณคดีเกี่ยวกับเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ • วรรณคดีเพื่อความบันเทิง • วรรณคดีบันทึกความรู้สึกของผู้เดินทาง
ศิลปะการประพันธ์ในวรรณคดีไทยศิลปะการประพันธ์ในวรรณคดีไทย ๑. การเล่นเสียง เล่นเสียงพยัญชนะ เล่นเสียงวรรณยุกต์ เล่นเสียงสระ จิบจับเจาเจ่าเจ้ารังมา จอกจาบจั่นจรรจา จ่าจ้า เค้าค้อยค่อยคอยหา เห็นโทษ ซอนซ่อนซ้อนสริ้วหน้า นิ่งเร้าเอาขวัญ ( โคลงอักษรสามหมู่ ของ พระศรีมโหสถ )
ดูหนูสู่รูงู งูสุดสู้หนูสู้งูดูหนูสู่รูงู งูสุดสู้หนูสู้งู หนูงูสู้ดูอยู่ รูปงูทู่หนูมูทู ดูงูขู่ฝูดฝู้ พรูพรู หนูสู่รูงูงู สุดสู้ งูสู้หนูหนูสู้ งูอยู่ หนูรู้งูงูรู้ รูปถู้มูทู ( กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง พระนิพนธ์ เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร )
๒. การเล่นคำเล่นคำพ้อง พ้องรูป พ้องเสียง เล่นคำซ้ำ เล่นคำเชิงถาม ( คำถามเชิงวาทศิลป์ )
เบญจวรรณจับวัลย์มาลี เหมือนวันเจ้าวอนพี่ให้ตามกวางเบญจวรรณจับวัลย์มาลี เหมือนวันเจ้าวอนพี่ให้ตามกวาง (บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ พระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก) เห็นรอหักเหมือนหนึ่งรักพี่รอรา แต่รอท่ารั้งทุกข์มาตามทาง (นิราศพระบาท ของ สุนทรภู่) ...แต่แม่เที่ยวเซซังเสาะแสวงทุกแห่งห้องหิมเวศ ทั่วประเทศทุกราวป่า สุดนัยนาที่แม่จะตามไปเล็งแล สุดโสตแล้วที่แม่จะซับทราบฟังสำเนียง สุดสุรเสียงที่แม่จะร่ำเรียกพิไรร้อง สุดฝีเท้าที่แม่จะเยื้องย่องยกลงเหยียบดิน ก็สุดสิ้นสุดปัญญาสุดหาสุดค้นเห็นสุดคิด.... (มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี สำนวนของเจ้าพระยาพระคลัง ( หน )) เปลก็ไกวดาบก็แกว่งแข็งหรือไม่ ไม่อวดหยิ่งหญิงไทยมิใช่ชั่ว ไหนไถถากกรากกรำไหนทำครัว ใช่รู้จักแต่จะยั่วผัวเมื่อไร (นารีเรืองนาม พระนิพนธ์ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์)
อุปลักษณ์ อธิพจน์ ๓. การใช้ภาพพจน์ อุปมา เลียนเสียงธรรมชาติ บุคลวัต / บุคลาธิษฐาน
คุณแม่หนาหนักเพี้ยง พสุธาคุณแม่หนาหนักเพี้ยง พสุธา คุณบิดรดุจอา - กาศกว้าง คุณพี่พ่างศิขรา เมรุมาศ คุณพระอาจารย์อ้าง อาจสู้สาคร ( โคลงโลกนิติ พระนิพนธ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเดชาดิศร ) ไม่คลาดเคลื่อนเหมือนองค์พระทรงเดช แต่ดวงเนตรแดงดูดังสุริย์ฉาย ทรงกำลังดังพระยาคชาพลาย มีเขี้ยวคล้ายชนนีมีศักดา ( นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี ของสุนทรภู่ )
โอ้เจ้าดวงสุริยันจันทรทั้งคู่ของแม่เอ๋ย แม่ไม่รู้เลยว่าเจ้าจะหนีพระมารดาไปสู่พาราใดไม่รู้ที่...... ( มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี สำนวนของเจ้าพระยาพระคลัง ( หน ) ) แผดเสียงสิงหนาทบรรหาร เหม่มันอหังการหยาบใหญ่ ( บทละครเรื่อง อิเหนา พระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ) ...ฝูงทิชาชาติชวนกันชื่นชมถวายชัย ส่งเสียงใสเสนาะป่าร้องเป็นภาษามนุษย์ อำนวยพร....ต่างต่าง ก็ทูลถวายพร พระเพรียกพร้องร้องถวายพระพรกันซ็งแซ่ ( มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์จุลพน พระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ) โทสะอาจจะโดดโลดข้ามรั้ว ไม่เกรงกลัวบัญญัติเลย ( เวนิชวาณิช พระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว )
ตราบขุนคิริข้น ขาดสลาย แลแม่ รักบ่หายตราบหาย หกฟ้า สุริยจันทร์ขจาย จากโลก ไปฤา ไฟแล่นล้างสี่หล้า ห่อนล้างอาลัย ( นิราศนรินทร์ ของ นายนรินทร์ธิเบศร์ ) ต้อยตะริดติดตี่เจ้าพี่เอ๋ย จะละเลยเร่ร่อนไปนอนไหน แอ้อีอ่อยสร้อยฟ้าสุมาลัย แม้เด็ดได้แล้วไม่ร้างให้ห่างเชย ( นิทานคำกลอน เรื่องพระอภัยมณี ของสุนทรภู่ )