450 likes | 624 Views
การวางแผนสำหรับโครงงาน ( Project Planning). การวางแผนโครงการด้วย PERT/CPM.
E N D
การวางแผนสำหรับโครงงาน(Project Planning)
การวางแผนโครงการด้วย PERT/CPM • โครงการ (project) มีลักษณะแตกต่างจากงานประจำในแง่ของเวลาและการดำเนินการ โครงการจะประกอบด้วยกิจกรรมซึ่งมีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งโครงการ คือ งานที่มีเวลาแล้วเสร็จ แตกต่างกับงานประจำซึ่งไม่มีเวลาสิ้นสุดของการทำงาน การวางแผนโครงการก็มีลักษณะคล้ายคลึงกับการวางแผนงานอื่นๆ คือ การกำหนดแนวทางปฏิบัติว่าจะต้องทำอะไรบ้าง เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
การวางแผนโครงการก็มีขั้นตอนต่างๆ โดยเริ่มจากการกำหนด เป้าหมาย ของโครงการ ซึ่งประกอบด้วยทรัพยากรที่ต้องการ เวลาแล้วเสร็จของโครงการและผลลัพธ์ที่จะได้ การกำหนดและมอบหมายงานให้แก่ผู้มีส่วนร่วมในโครงการ การประมาณการเวลาที่ต้องใช้และทรัพยากรที่ต้องการในการทำกิจกรรมต่างๆ ในโครงการ โดยอาศัย วิธีการพยากรณ์ การวางแผนการใช้เงินตลอดจนการควบคุมงบประมาณให้อยู่ภายในปริมาณที่กำหนด และประการสุดท้ายผู้บริหารโครงการจะต้องกำหนดนโยบายเพื่อการทำกิจกรรมว่า กิจกรรมจะมีผลกระทบต่อการดำเนินโครงการมากที่สุดในแง่ของเวลาที่แล้วเสร็จของโครงการ และในกรณีที่ต้องเร่งโครงการให้เสร็จเร็วขึ้นกว่าที่วางแผนไว้ ผู้บริหารโครงการจะต้องกำหนดว่าควรจะใช้ทรัพยากรในกิจกรรมใดเพื่อเร่งรัดให้โครงการเสร็จเร็วขึ้นได้ตามที่ต้องการ นอกจากนี้ ผู้บริหารโครงการยังจะต้องกำหนดลำดับการทำงานก่อนหลังของกิจกรรมต่างๆ ในโครงการว่า จะต้องทำกิจกรรมใดก่อนหลังกันอย่างไร
โดยสรุปสำหรับผู้บริหารโครงการ สิ่งซึ่งจำเป็นจะต้องรู้เพื่อการวางแผนและควบคุมโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ คือ • ในโครงการมีกิจกรรมหรืองานย่อยอะไรบ้างที่จะต้องทำ แต่ละกิจกรรมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร กิจกรรมใดต้องทำก่อน กิจกรรมใดต้องทำหลังจากกิจกรรมใด และเวลาที่ต้องใช้ในการทำแต่ละกิจกรรมเป็นเท่าใด • โครงการที่ทำมีเวลาแล้วเสร็จเป็นเท่าไร • ในบรรดากิจกรรมต่างๆ มีกิจกรรมใดบ้างที่ถือว่าเป็นกิจกรรมวิกฤต (critical activity) ซึ่งหมายถึงกิจกรรมที่เมื่อเกิดล่าช้าไปกว่าที่กำหนด จะมีผลกระทบต่อเวลาแล้วเสร็จทั้งหมดของโครงการ • ในบรรดากิจกรรมต่างๆ มีกิจกรรมใดบ้างที่เมื่อเกิดการล่าช้า จะไม่มีผลกระทบต่อเวลาแล้วเสร็จของโครงการ และกิจกรรมเหล่านี้อาจล่าช้าได้นานมากที่สุดเท่าใด จึงจะไม่มีผลต่อเวลาแล้วเสร็จของโครงการ • ในกรณีที่ต้องการเร่งให้โครงการเสร็จเร็วขึ้นกว่าที่กำหนด จะต้องทำการเร่งรัดกิจกรรมใดบ้าง และจะทำอย่างไรจึงทำให้ต้นทุนการเร่งรัดกิจกรรมถูกที่สุด
การวางแผนโครงการด้วยวิธีการอื่นๆการวางแผนโครงการด้วยวิธีการอื่นๆ
รูป GANTT CHART แสดงลำดับและเวลาการดำเนินงาน
การวิเคราะห์ข่ายงาน PERT/CPM การวิเคราะห์ข่ายงาน PERT/CPM มีวัตถุประสงค์เพื่อหาวิถีวิกฤตของโครงการ ขั้นตอนการวิเคราะห์ข่ายงานประกอบด้วย • การแยกแยะงาน (job breakdown)เป็นขั้นตอนการแจกแจงของกิจกรรมต่างๆ ที่จำเป็นต้องทำในโครงการทั้งหมดว่า มีกิจกรรมอะไรบ้างที่ต้องทำ กิจกรรมต่างๆ มีความสัมพันธ์กันอย่างไร กิจกรรมใดต้องทำก่อน กิจกรรมใดต้องทำหลัง • การประมาณการเวลาของกิจกรรม (activity time estimation)เป็นการประมาณการเวลาที่ต้องใช้ทำแต่ละกิจกรรมโดยอาศัยผู้ชำนาญงานในแต่ละกิจกรรม
สำหรับข่ายงาน CPM การประมาณการจะทำโดยประมาณการเพียงค่าเดียว โดยถือว่าค่านี้มีความเป็นไปได้มากที่สุด มีโอกาสน้อยมากที่จะเกิดความคลาดเคลื่อนซึ่งเป็นแบบ Deterministic • ถ้าข้อมูลเวลาการทำงานของแต่ละงานไม่ค่อยแน่นอนโดยที่เราสามารถกำหนดหาความน่าจะเป็นของเวลาเหล่านั้น เรียกว่า PERT ซึ่งเป็นแบบ Probabilistic
1. ขั้นตอนการดำเนินงาน • ศึกษาโครงงานที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดชนิดของงาน • กำหนดช่วงเวลา หรือระยะเวลาซึ่งจะใช้ในการทำงานแต่ละขั้นตอน • ปรับปรุงโครงงาน
2. การตั้งรูปแบบปัญหาการวางแผนสำหรับโครงงาน • ใช้ประโยชน์จากการสร้างโครงข่าย ด้วยไดอะแกรมลูกศร • ลูกศร แทน ความหมายของขั้นตอนของงานต่างๆ ในโครงงาน • node แทน ความหมายของเวลาเริ่มต้น และเวลาสิ้นสุดของงาน • เส้นปะ แทน ขั้นตอนของงานสมมติ เพื่อช่วยในการหาผลลัพธ์
การเขียนข่ายงาน a b 1 2 3 3 a 1 2 b 3 b a 1 2
ตัวอย่าง Dummy Activity 2 c a 1 4 F=Dummy b 3
กฎเกณฑ์ในการเขียนโครงข่ายของโครงงานกฎเกณฑ์ในการเขียนโครงข่ายของโครงงาน • งานแต่ละงานจะใช้แทนด้วยเส้นตรงมีลูกศร เส้นตรงหนึ่งเส้นจะแทนด้วยงานเพียงหนึ่งงานเท่านั้น • งานสองงานที่เริ่มทำไปพร้อมกัน จะมีจุดเริ่มต้นเดียวกัน แต่จะมีจุดสิ้นสุดเดียวกันไม่ได้ เพราะนั้นจะหมายถึงงานทั้งสองงานนั้นเริ่มต้นและสิ้นสุดลงพร้อมกัน......ปัญหานี้จะนำ Dummy เข้ามาช่วย a a 1 1 2 3 b b 3 2
ภาพข่ายงาน 2 a d b 1 F=d1 3 5 G=d2 c 4 e
ตัวอย่าง 2 • โครงการแนะนำผลิตภัณฑ์ใหม่ออกสู่ท้องตลาด มีกิจกรรมต่างๆ ที่ต้องทำดังแสดงในตารางต่อไปนี้ จงเขียนข่ายงาน PERT/CPM และวิเคราะห์หาเวลาที่ต้องใช้ในการทำโครงการและกิจกรรมที่เป็นกิจกรรมวิกฤตของโครงการ
c 6 2 g a d h 5 i 7 1 4 j b e f 8 3
ตัวอย่าง 4 • งานก จะต้องทำก่อนทุกงาน • งาน ข จะต้องเสร็จก่อนงาน ค จะเริ่ม • งาน จ จะทำได้ต่อเมื่องาน ค และ ง เสร็จแล้ว • งาน ฉ จะทำได้ต่อเมื่องาน จ และ ซ เสร็จแล้ว • งาน ช จะเริ่มได้ภายหลังจากงาน ฉ และ ฆ
4. วิเคราะห์หางานวิกฤติ (critical path analysis) • หลังจากเขียนข่ายงานเสร็จแล้วขั้นตอนสุดท้ายคือการหาเส้นทางวิกฤติของข่ายงาน จากเส้นทางวิกฤตินี้จะทำให้ทราบถึงเวลาแล้วเสร็จของโครงการว่าเป็นเท่าใด และกิจกรรมใดบ้างที่อยู่ในเส้นทางวิกฤติ ซึ่งจะทำไปสู่การวางแผนตัดสินใจเพื่อควบคุมโครงการ หรือเร่งรัดโครงการต่อไป
พิจารณาโครงสร้างต่อไปนี้พิจารณาโครงสร้างต่อไปนี้ 3 6 4 1 2 4 5 2 6 3 เส้นทางวิกฤติคือ 1-2 ,2-4 และ 4-5 ซึ่งใช้เวลาอย่างน้อยที่สุดทั้งโครงการเท่ากับ 13 วัน ซึ่งการจะทำให้โครงการเสร็จเร็วกว่านี้ต้องลดเวลาการทำงานในเส้นทางวิกฤติเท่านั้น ไม่มีประโยชน์ในการลดเวลาในเส้นทางอื่นๆ
พื้นฐานการวิเคราะห์ข่ายงานพื้นฐานการวิเคราะห์ข่ายงาน ในการคำนวณหาวิถีวิกฤตจำเป็นต้องทราบถึงนิยามต่างๆ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ดังต่อไปนี้คือ • เวลาเริ่มต้นเร็วที่สุด (earliest start, ES)หมายถึง เวลาเร็วที่สุดที่กิจกรรมจะสามารถเริ่มต้นทำได้ • เวลาแล้วเสร็จเร็วที่สุด (earliest finish, EF)หมายถึง เวลาเร็วที่สุดที่กิจกรรมสามารถทำเสร็จได้ • เวลาเริ่มต้นช้าที่สุด (Latest start, LS)หมายถึง เวลาช้าที่สุดที่กิจกรรมจะสามารถเริ่มต้นได้ โดยไม่ทำให้เวลาแล้วเสร็จของโครงการล่าช้าไปกว่าที่วางแผนไว้ • เวลาแล้วเสร็จช้าที่สุด (Latest finish, LF)หมายถึง เวลาช้าที่สุดที่กิจกรรมจะสามารถทำเสร็จได้ โดยไม่ทำให้เวลาแล้วเสร็จของโครงการล่าช้าไปกว่าที่วางแผนไว้
พื้นฐานการวิเคราะห์ข่ายงานพื้นฐานการวิเคราะห์ข่ายงาน ในการคำนวณหาวิถีวิกฤตจำเป็นต้องทราบถึงนิยามต่างๆ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ดังต่อไปนี้คือ (ต่อ) • เวลาลอยตัวอิสระ (free float, FF)หมายถึง เวลาที่กิจกรรมสามารถเลื่อนเวลาเริ่มต้นหรือทำล่าช้าออกไปจากที่กำหนด โดยไม่มีผลกระทบที่จะทำให้เวลาแล้วเสร็จของโครงการเสร็จล่าช้ากว่ากำหนด และไม่มีผลทำให้กำหนดเวลาเริ่มต้นของกิจกรรมอื่นที่ตามหลังต้องเลื่อนตามไปด้วย • เวลาลอยตัวรวม (total float, TF)หมายถึง เวลาที่กิจกรรมสามารถเลื่อนเวลาเริ่มต้นหรือทำล่าช้าออกไปจากที่กำหนด โดยไม่มีผลกระทบที่จะทำให้เวลาแล้วเสร็จของโครงการเสร็จล่าช้ากว่าที่กำหนด แต่อาจทำให้เวลาเริ่มต้นเร็วที่สุดของกิจกรรมที่ตามหลังเลื่อนตามไปด้วย
วิถีวิกฤต (critical path) Critical path method มีส่วนซึ่งใช้ในการกำหนดหางานวิกฤติ 2 ส่วน • Forward pass คือ ส่วนการกำหนดจากเวลาเริ่มต้นไปถึงเวลาสิ้นสุดของโครงการ โดยคิดหาผลลัพธ์ของเวลาเริ่มต้นเร็วสุดของ node ทุก node ในโครงข่ายของโครงงานซึ่งใช้สัญลักษณ์ แทนความหมายของการเริ่มต้นเร็วสุดของแต่ละ node คำนวณได้ดังนี้ ESj = Maxi (ESi + Dij) ESj = เวลาเริ่มต้นเร็วสุดของ node j ESi = เวลาเริ่มต้นเร็วสุดของ node i ใดๆ Dij = เวลาทำงานของงาน i-j สำหรับ i ใดๆ
3 7 6 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4
3 7 0 6 0 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4
3 7 0 6 0 0+1 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4
6+1 3 7 0 6 0 0+1 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4
7 3 7 0 6 0 1 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 1+8 , 7+3
7 3 7 0 6 0 1 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 10
7 3 7 0 6 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 10
วิถีวิกฤต (critical path) Critical path method มีส่วนซึ่งใช้ในการกำหนดหางานวิกฤติ 2 ส่วน (ต่อ) • Backward pass คือ ส่วนการกำหนดจากเวลาสิ้นสุดของโครงงานไล่กลับมาถึงเวลาเริ่มต้นในโครงข่ายของโครงงานซึ่งใช้สัญลักษณ์ แทนความหมายของการเสร็จช้าสุดของแต่ละ node คำนวณได้ดังนี้ LFi = Minj (LFj - Dij) LFi = เวลาแล้วเสร็จช้าสุดของ node i LFj = เวลาแล้วเสร็จช้าสุดของ node j ใดๆ Dij = เวลาทำงานของงาน i-j สำหรับ i ใดๆ
7 3 7 0 6 15 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 10
7 3 7 0 6 15 15-1 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 10
7 3 7 0 6 15 14 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 14-3 10
11-3 , 14-7 7 3 7 0 6 15 14 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 11 10
7 7 3 7 0 7-6 6 15 14 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 11 10
7 7 3 7 0 1 6 15 14 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 11 10
7 7 3 7 0 1 6 15 14 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 11 10 ผลต่างของหัวลูกศรและท้ายลูกศรใน แต่ละจุดยอดวิกฤติจะเป็นเวลาวิกฤติ และรวมแล้ว = 15
7 7 3 7 0 1 6 15 14 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 11 10 ส่วนใดที่ ESi = LFiจะเรียกจุดนั้นว่า จุดยอดวิกฤติ และ ณ จุดยอดนั้นจะมีเส้นทางวิกฤติอยู่
จากตัวอย่างที่ 2 ลองหาเส้นทางวิกฤติ และ เวลา วิกฤติ.....