1 / 21

สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล

สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล. การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล. 1. วัตถุประสงค์การวิจัย. 2. สมมุติฐานการวิจัย. 3. ข้อมูล หรือ คำตอบที่ต้องการ. 4. วิธีการ และ เครื่องมือที่ใช้. สิ่งที่ได้จากการวัด หรือสังเกต. คะแนนผลสัมฤทธิ์. คุณลักษณะ. Quantitative. Qualitative. Nominal.

Download Presentation

สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถิติ และการวิเคราะห์ข้อมูล

  2. การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลการเลือกใช้สถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล 1 วัตถุประสงค์การวิจัย 2 สมมุติฐานการวิจัย 3 ข้อมูล หรือ คำตอบที่ต้องการ 4 วิธีการ และ เครื่องมือที่ใช้

  3. สิ่งที่ได้จากการวัด หรือสังเกต คะแนนผลสัมฤทธิ์ คุณลักษณะ Quantitative Qualitative Nominal Interval Ratio Ordinal

  4. ผลเชิงปริมาณ ผลเชิงคุณภาพ การนำเสนอข้อมูล บทความบรรยาย ตาราง แผนภูมิ

  5. สถิติ Statistics 1. สถิติบรรยาย/พรรณนา Descriptive Statistics เป็น สถิติพื้นฐาน ที่ใช้จัดกระทำกับข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่ออธิบายลักษณะต่าง ๆ ของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น 2. สถิติอ้างอิง Inferential Statistics เป็น สถิติที่ใช้ทดสอบความมีนัยสำคัญ โดยนำข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ สรุปแล้วอ้างอิงกลับไปยังประชากรเป้าหมาย

  6. สถิติบรรยาย/พรรณนา Descriptive Statistics • ความถี่ ร้อยละ (f , %) • การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ( , Mdn , Mo) * ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน ฐานนิยม • การวัดการกระจาย(R , SD , SD2,, S2 ) * พิสัย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความแปรปรวน • การหาความสัมพันธ์( 2 ,  , rxy) • แบบ Chi Square ข้อมูลนามบัญญัติ Nominal scale • แบบ Spearman Ranksข้อมูลเรียงอันดับ Ordinalscale • แบบ Pearson Product Moment ข้อมูลแบบช่วง Interval scale อัตราส่วน Ratio scale

  7. สถิติอ้างอิง Inferential Statistics การทดสอบนัยสำคัญของความแตกต่างของค่าเฉลี่ยประชากร (z, t, F-test) • 2 กลุ่มตัวอย่างเป็นอิสระต่อกัน t-Independent • 2 กลุ่มตัวอย่างไม่เป็นอิสระแก่กัน t -Dependent/Correlated • มากกว่า 2 กลุ่มตัวอย่าง การวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis Of Variances : ANOVA)

  8. สถิติอ้างอิง Inferential Statistics การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของประชากร z- test - ทราบค่าความแปรปรวนของประชากรทั้ง 2 กลุ่ม • ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร • ประชากรแต่ละกลุ่มมีขนาด  30 t - test - ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร - ประชากร แต่ละกลุ่มมีขนาด  30

  9. แบบหนึ่งกลุ่มวัดครั้งเดียว (The One - Shot Case Study) เป็นแบบการวิจัย 1 กลุ่มได้รับการจัดกระทำ หลังจากนั้นทำ การทดสอบ Treatment Test X O µ = ค่าเฉลี่ยของประชากร หรือค่าคงที่ หรือค่ามาตรฐาน เพื่อศึกษาผลการเรียน จากการใช้วิธีสอน 4MAT โดยเทียบกับเกณฑ์การผ่านร้อยละ ๘๐

  10. แบบหนึ่งกลุ่ม วัดก่อน วัดหลัง (The One – Group Pretest-Posttest Design) เป็นแบบการวิจัย 1 กลุ่ม มีการวัดก่อน และหลังการจัดกระทำ Pretest Treatment Posttest O1 X O2 df = n-1

  11. แบบเปรียบเทียบสองกลุ่ม ที่คงที่ (The Static – Group Comparision Design) เป็นแบบการวิจัย 2 กลุ่ม ไม่มีการสุ่ม Treatment Test E X O C O

  12. ขั้นตอนการทดสอบสมมติฐานขั้นตอนการทดสอบสมมติฐาน กำหนดสมมติฐานการวิจัย และ สมมติฐานทางสถิติ กำหนดระดับความมีนัยสำคัญ  (alpha) หาค่าวิกฤติ โดยการเปิด ตาราง t(ค่าของขอบเขตการยอมรับหรือปฏิเสธสมมติฐานกลาง H0 ที่ถูกต้อง) หาค่าสถิติทดสอบ t(คำนวณโดยใช้สูตร) เปรียบเทียบค่า t ที่คำนวณได้ กับค่าวิกฤต(ค่า t ตาราง) ตัดสินใจสรุปผล tคำนวณ > t ตาราง = ปฏิเสธ H0 t คำนวณ < t ตาราง = ยอมรับH0

  13. การกำหนดสมมติฐาน

  14. การกำหนดระดับนัยสำคัญการกำหนดระดับนัยสำคัญ :ระดับความมีนัยสำคัญlevel of significanceใช้สัญลักษณ์  (alpha) - ระดับความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้เกิดขึ้นได้ในการทดสอบ - ความน่าจะเป็นหรือโอกาสที่จะปฏิเสธสมมติฐานกลางที่ถูกต้อง - ค่าระดับความมีนัยสำคัญ โดยทั่วไปคือ 0.01 และ 0.05 (การทดสอบมีความน่าเชื่อถือได้ ร้อยละ 99 และ 95)

  15. ค่าวิกฤตCritical value - ค่าที่เป็นเกณฑ์ในการตัดสินใจว่าจะ ยอมรับ หรือ ปฏิเสธ สมมติฐานกลาง H0 - ได้จากการเปิดตาราง t โดยใช้ค่าระดับความมีนัยสำคัญ และชั้นแห่งความเป็นอิสระ Degree of Freedom : df หน้า 197

  16. วิธีการหาค่าวิกฤตจากการเปิดตาราง t เป็นการทดสอบสมมติฐาน หนึ่งทาง หรือ สองทาง กำหนดระดับนัยสำคัญ(alpha) หาชั้นแห่งความเป็นอิสระ : df ค่าที่ระดับนัยสำคัญ กับ dfตัดกัน คือ ค่าวิกฤต

  17. การหาค่าสถิติทดสอบ t : เป็นการพิจารณาค่าสถิติที่คำนวณได้ โดยเทียบกับพื้นที่ตามขอบเขต การยอมรับ หรือ ปฏิเสธ - ค่า tที่คำนวณได้ น้อยกว่า ค่าวิกฤติ = ยอมรับ H0 tคำนวณ < t ตาราง = ยอมรับH0 : ค่าเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มไม่แตกต่างกัน - ค่าtที่คำนวณได้ มากกว่า ค่าวิกฤติ =ปฏิเสธ H0 และยอมรับ H1 tคำนวณ > t ตาราง = ปฏิเสธ H0 : ค่าเฉลี่ยกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มแตกต่างกัน

  18. การกำหนดสมมติฐาน

  19. ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 df = 18 ค่าวิกฤต = ……….….. การเปิดตาราง t คะแนนเฉลี่ยภาษาอังกฤษของนักเรียนสองกลุ่มแตกต่างกัน H0:คะแนนเฉลี่ยภาษาอังกฤษของนร.สองกลุ่มเท่ากัน H1:คะแนนเฉลี่ยภาษาอังกฤษของนร.สองกลุ่มแตกต่างกัน H1 : 1  2 Ho : 1 = 2

  20. การเลือกใช้สถิติให้เหมาะสมการเลือกใช้สถิติให้เหมาะสม การศึกษาผลการใช้เทคนิคการเสริมแรงทางบวกเพื่อ ลดพฤติกรรมก้าวร้าวในเด็กชายบี... วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการใช้เทคนิคการเสริมแรงทางบวก ในการลดพฤติกรรมก้าวร้าวในเด็กชายบี... ข้อมูลที่ต้องการศึกษา(ตัวแปรตาม) คือพฤติกรรมที่พึงประสงค์ (เชิงคุณภาพ) เครื่องมือ แบบสังเกตพฤติกรรม เชิงบรรยาย การวิเคราะห์ข้อมูล : ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)

  21. การเลือกใช้สถิติให้เหมาะสมการเลือกใช้สถิติให้เหมาะสม ผลการพัฒนาทักษะการอ่านโน้ตดนตรีสากล โดยใช้ชุดแบบฝึก Funny Song วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการพัฒนาทักษะการอ่านโน้ตดนตรี สากลโดยใช้ชุดฝึก Funny Song ข้อมูลที่ต้องการศึกษา(ตัวแปรตาม) ต้น=....................................... ตาม=.............................................. เครื่องมือ ................................. วิธีการ......................................... การวิเคราะห์ข้อมูล :.........................................................................

More Related