1 / 28

KM การจัดการความรู้ การตรวจสอบข้อมูลรายได้ภาษีสรรพสามิต ผ่านระบบ GFMIS

KM การจัดการความรู้ การตรวจสอบข้อมูลรายได้ภาษีสรรพสามิต ผ่านระบบ GFMIS. แนวทางตรวจสอบข้อมูลรับและนำส่งเงิน. สำนักงานสรรพสามิตพื้นที่บึงกาฬ. การรับเงินรายได้ของกรมสรรพสามิต. ประเภทรายได้ เงินค่าภาษี เงินรายได้อื่นนอกจากค่าภาษี ค่าธรรมเนียมใบอนุญาต ค่าปรับเปรียบเทียบคดี

lukas
Download Presentation

KM การจัดการความรู้ การตรวจสอบข้อมูลรายได้ภาษีสรรพสามิต ผ่านระบบ GFMIS

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. KM การจัดการความรู้ การตรวจสอบข้อมูลรายได้ภาษีสรรพสามิต ผ่านระบบ GFMIS แนวทางตรวจสอบข้อมูลรับและนำส่งเงิน สำนักงานสรรพสามิตพื้นที่บึงกาฬ

  2. การรับเงินรายได้ของกรมสรรพสามิตการรับเงินรายได้ของกรมสรรพสามิต ประเภทรายได้ เงินค่าภาษี เงินรายได้อื่นนอกจากค่าภาษี ค่าธรรมเนียมใบอนุญาต ค่าปรับเปรียบเทียบคดี รายได้เบ็ดเตล็ดอื่น ค่าขายที่ดินและสิ่งปลูกสร้างราชพัสดุ เงินเหลือจ่ายปีเก่าส่งคืน เงินประกันและมัดจำ รับคืนภาษีรถยนต์คันแรก ดอกเบี้ยเงินทดรองราชการ • จัดเก็บแทนหน่วยงานอื่น • กองทุน (สสส./น้ำมันเชื้อเพลิง/อนุรักษ์พลังงาน) • เงินบำรุงองค์การ สสท. • เงินเก็บเพิ่ม มหาดไทย • เงินเก็บเพิ่ม กทม. / อปท. • มูลค่าเพิ่ม

  3. กระบวนงานรับและนำเงินส่งคลังกระบวนงานรับและนำเงินส่งคลัง นำฝาก บัญชีธนาคาร นำเงินส่งคลัง(คลังจังหวัด/อำเภอ) รับแบบคำขอพร้อมเงิน ออกใบเสร็จรับเงิน (มือ) เก็บรักษาเงิน (กำปั่น) - 1 นำเงินส่งคลัง(ผ่านกรุงไทย) 2 ส่งข้อมูลรับ/ส่งเงินในระบบ GFMIS

  4. กระบวนงานรับและนำเงินส่งคลัง (ต่อ) นำเงินส่งคลัง (ผ่านกรุงไทย) ส่งข้อมูลรับ/ส่งเงินระบบ GFMIS เก็บรักษาเงิน (กำปั่น) รับแบบคำขอและเงิน ออกใบเสร็จรับเงิน (ระบบงานรายได้) นำฝากบัญชี1* นำเงินส่งคลัง (Pay in Slip 5 ช่อง) สั่งจ่ายจาก บัญชี1*เข้าบัญชี2*นำส่งข้อมูล ระบบ GFMIS วิธี Interface *บัญชี1* หมายถึง บัญชีพักหน่วยงาน *บัญชี2* หมายถึง บัญชีพักกรมบัญชีกลาง/คลัง

  5. ระบบงานคอมพิวเตอร์ ระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐทางอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) ระบบ บัญชี ระบบงบประมาณ ระบบ รับและนำส่ง ระบบ เบิกจ่าย ระบบ สินทรัพย์ ระบบ จัดซื้อจัดจ้าง

  6. หน่วยงานรับผิดชอบ กระทรวงการคลัง กรมบัญชีกลาง (12 ม.ค.2550) สำนักเลขาธิการ นายกรัฐมนตรี (1 ต.ค.2547)

  7. ช่องทางบันทึกรายการ ระบบ รับและนำส่ง ส่วนกลาง (เครื่อง Terminal) 3 กรมจัดเก็บ สรรพากร สรรพสามิต ศุลกากร GFMIS วิธี Interface ส่วนภูมิภาค (Excel Loader) ปรับ Pay in Slip5 ช่อง* ผ่าน GFMIS (Web Online)

  8. ภาพรวมระบบรับและนำส่ง GFMIS ส่วนราชการ จัดเก็บเงิน ออกใบเสร็จรับเงิน บันทึกข้อมูลการจัดเก็บ ระบบ GFMIS กรมบัญชีกลาง ตรวจสอบและผ่านรายการ ส่วนราชการ นำส่งเงิน Pay in Slip KTB บันทึกข้อมูลการนำส่งเงิน CJ ระบบ GFMIS กระบวนการจัดเก็บ ระบบ GFMIS กระบวนการนำส่ง

  9. กรมสรรพสามิต ระบบงานคอมพิวเตอร์ ระบบงานรายได้ Main Access Web Online ระบบใบอนุญาต ระบบผู้กระทำผิด

  10. ระบบงานรายได้ (ด้านจัดเก็บ / INC) บันทึกรับชำระเงินค่าภาษีและรายได้อื่น (ตามแบบคำขอ) + ใบเสร็จรับเงิน ใบอนุญาต ข้อมูล ค่าปรับเปรียบเทียบคดี ปิดบัญชีประจำวัน ตรวจสอบรายงานงบสรุปประจำวันจากระบบงานรายได้ +เอกสารหลักฐานการรับเงิน + รายงานสรุปจากระบบงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ภาคส่ง Text Fileด้านจัดเก็บ (INC) ระบบ GFMIS ผ่านเครื่อง Terminal ประมวลผลจัดเก็บรายได้ยืนยันข้อมูลส่งให้ภาค

  11. ระบบงานรายได้ (ด้านนำส่ง / REV) บันทึกเลขที่อ้างอิงบัญชีพักหน่วยงาน(บัญชี 1) บันทึกสถานะเช็ค ประมวลผลสรุปจำนวนเงินเพื่อนำส่งคลัง บันทึกเลข Pay in Slip นำฝากคลัง ประมวลผลนำส่งยืนยันข้อมูลส่งให้ภาค ข้อควรระวัง **ใบนำฝากเงิน/ใบรับฝากเงิน pay-in slip ภาคส่ง Text Fileด้านนำส่ง (REV) ในระบบ GFMIS ผ่านเครื่อง Terminal

  12. ใบเสร็จรับเงินที่ใช้ในปัจจุบัน • ใบเสร็จรับเงินที่ออกด้วยคอมพิวเตอร์ • ใบเสร็จรับเงินจากระบบงานรายได้ • ใบอนุญาตสุรา/ยาสูบ/ไพ่ จากระบบงานใบอนุญาต • ใบเสร็จรับเงินที่ออกด้วยมือ • ใบเสร็จรับเงินค่าปรับเปรียบเทียบคดีสรรพสามิต • ใบเสร็จรับเงิน แบบที่ 2

  13. ตราครุฑ เลขที่/เล่มที่ บร.(กรณีจะควบคุมจำนวนเป็นเล่ม) ชื่อ สรก. ซึ่งจัดเก็บหรือรับชำระเงิน ที่ทำการ/สำนักงานที่ออก บร. วดป ที่รับเงิน ชื่อ นามสกุล ผู้ชำระเงิน ข้อความ/รายการระบุว่าเงินที่ได้รับชำระเป็นค่าอะไร จำนวนเงินที่รับชำระทั้งตัวเลขและตัวอักษร ข้อความระบุว่า “ได้มีการรับเงินไว้เป็นการถูกต้องแล้ว” ลายมือชื่อผู้รับเงิน ตำแหน่งผู้รับเงิน *** บร. ฉบับนี้จะสมบูรณ์ต่อเมื่อ จนท.ได้เรียกเก็บเงินตามเช็คได้ครบถ้วนแล้ว *** (กรณีรับชำระเงินเป็นเช็ค ใบเสร็จรับเงินที่ออกด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์

  14. ประเภทของเงินที่รับ • 1. เงินสด • 2. เช็ค • 3. ดราฟท์ • 4. ตราสารอื่น ที่ กค กำหนด

  15. ประเภทเช็ค 1. เช็คธนาคารแห่งประเทศไทย (ก) 2. เช็คที่มีธนาคารค้ำประกัน (ข) 3. เช็คที่ธนาคารเซ็นสั่งจ่าย (ค) 4.เช็คที่ผู้มีหน้าที่ชำระเงินผลประโยชน์ เป็นผู้สั่งจ่ายและใช้ชำระโดยตรง (ง)

  16. ลักษณะและเงื่อนไขของเช็คลักษณะและเงื่อนไขของเช็ค เป็นเช็คลงวันที่ที่เจ้าหน้าที่รับชำระเช็ค / ก่อนวันนั้นไม่เกิน 15 วัน (เช็คประเภท ก ข ค) / ก่อนวันนั้นไม่เกิน 7 วัน (เช็ค ประเภท ง) ห้ามรับเช็ค ลงวันที่ ล่วงหน้า เป็นเช็คที่เรียกเก็บเงินได้เต็มตามจำนวนเงินที่ระบุไว้ในเช็ค ห้ามรับเช็คที่มีจำนวนเงินสูงกว่าจำนวนเงินที่จะต้องชำระ

  17. การรับเช็ค ตั๋วแลกเงิน/ดราฟท์ ออกโดยธนาคาร ลักษณะเช่นเดียวกับ เช็ค (ค) ถือปฏิบัติเช่นเดียวกับ การรับเช็ค (ค) เช็ค ประเภท ง จนท. รับได้ไม่เกิน หนึ่งแสนบาท เกินแสนไม่เกินสี่แสน หน สรก อนุมัติ สี่แสนขึ้นไป ปลัดกระทรวง อนุมัติ • ใบเสร็จรับเงิน บันทึกว่า “ใบเสร็จรับเงินจะสมบูรณ์ต่อเมื่อเรียกเก็บเงินตามเช็คได้ครบถ้วนแล้ว”

  18. การรับเช็คประเภท ง. โดยไม่จำกัดวงเงิน หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค0526.7/2336ลว9ก.พ. 2544 อนุมัติให้หัวหน้าส่วนราชการ (อธิบดีกรมสรรพสามิต) เป็นผู้อนุมัติการรับชำระเงินผลประโยชน์เป็นเช็คประเภท ง. สำหรับการชำระภาษีทุกประเภทได้โดยไม่จำกัดวงเงิน กรณีที่เกิดเช็คขัดข้องให้ปฏิบัติตามระเบียบที่เกี่ยวกับเช็ค ขัดข้องอย่างเคร่งครัด/ดำเนินคดีกับผู้เซ็นสั่งจ่ายโดยทันที

  19. ข้อปฏิบัติเกี่ยวกับเช็คขัดข้องข้อปฏิบัติเกี่ยวกับเช็คขัดข้อง ให้ สรก แจ้งเป็นหนังสือให้ลูกหนี้ทราบโดยเร็วที่สุด และเมื่อพ้นกำหนด 7 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งนั้น ยังไม่ได้รับชำระหนี้ให้ครบถ้วน ให้ดำเนินคดีทันที ตลอดระยะเวลาที่มีเช็คขัดข้องอยู่ในมือ ให้ สรก แสดงเลขที่เช็ค/จำนวนเงินในรายงานเงินคงเหลือประจำวันให้ชัดเจน ห้ามส่งเช็คขัดข้องคืน ให้ลูกหนี้หรือผู้สั่งจ่าย นอกจากแลกเปลี่ยนกับเช็ค ประเภท ข / ค หรือเงินสดเต็มมูลค่าตามเช็คขัดข้องนั้น

  20. 1. ใช้ตามแบบ บก /ได้รับความเห็นชอบ กค 2. จัดทำทะเบียนคุม / ตรวจสอบ / เก็บรักษาไว้ในที่ปลอดภัย 3. รายงาน บร อย่างน้อยไม่เกินวันที่ 31 ต.ค. ของปีงบ ถัดไป 4. ห้ามขีดลบเพื่อแก้ไขเพิ่มเติม ลงรายการรับเงินผิดพลาด ให้ขีดฆ่า/เขียนใหม่ทั้งจำนวน และลงลายมือชื่อกำกับ 5. ออก บร ให้ผู้ชำระเงินทุกครั้ง 6. บันทึกข้อมูลการรับเงินในระบบภายในวันที่ได้รับเงิน 7. สิ้นเวลารับเงิน ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วน (จำนวนเงินกับหลักฐานและรายการที่บันทึกไว้ในระบบ) การรับเงินของส่วนราชการ

  21. รายได้แผ่นดิน (เงินสด) เกินหนึ่งหมื่นบาท นำส่งโดยด่วน ไม่เกิน 3 วันทำการ การนำเงินส่งคลัง เช็ค/ดราฟท์/ตั๋วแลกเงิน นำฝาก/นำส่ง ในวันที่ได้รับ หรือ อย่างช้าภายในวันทำการถัดไป เงินเหลือจ่ายปีเก่าส่งคืน นำส่งภายในสิบห้าวันทำการนับจากวันที่ได้รับคืน

  22. บก อนุมัติตามที่กรมสรรพสามิตขอทำความตกลงกับ กค ให้หน่วยจัดเก็บ - นำเงินสด/เช็ค /ดราฟต์ ฝากเข้าบัญชี กระแสรายวัน เพื่อเรียกเก็บเงินให้ได้ครบถ้วนก่อน - นำฝากเข้าบัญชีเงินฝากคลัง ภายในสามวันทำการนับตั้งแต่วันที่ธนาคารเรียกเก็บเงินตามเช็คได้แล้ว หนังสือ บก ที่ กค 0409.7/33364 ลว 21 ธันวาคม 2550

  23. ข้อ 8 การหักรายรับจ่ายขาด ให้ทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง เว้นแต่ (1) การหักเงินรายรับเพื่อจ่ายคืนเงินที่ส่วนราชการนำส่งเกินกว่ารายรับ ส่งผิดประเภทรายได้ ส่งซ้ำ ข้อ 9 รายจ่ายที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องทำความ ตกลงตามข้อ 8 ให้หัวหน้าส่วนราชการมีอำนาจอนุมัติการหักรายรับจ่ายขาด

  24. กองคลัง กรมสรรพสามิต กรุงเทพฯ ใบนำฝากเงิน (Pay-in Slip) G9001 0300600014

  25. ตรวจสอบใบรับฝากเงิน (Deposit Slip)

  26. การปฏิบัติงานด้านการรับและนำส่งเงินรายได้ ระบบ GFMIS วิธี Interface ด้านการรับชำระเงินค่าภาษีและรายได้อื่น • ใบเสร็จรับเงิน + จำนวนเงิน ถูกต้องตรงกับแบบคำขอ • หลักฐานการรับเงิน ถูกต้องตรงกับรายงานสรุปจากระบบงาน • รายงานสรุปจากระบบงานใบอนุญาต/คดี ถูกต้องตรงกับ รายงานสรุปประจำวันจากระบบงานรายได้ • ปิดบัญชีประจำวัน (สิ้นวัน) จำนวนเงินที่รับชำระถูกต้อง ตรงกับรายงานสรุปประจำวันจากระบบงานรายได้ • รายงานคงเหลือประจำวันถูกต้องตรงกับจำนวนเงินที่เก็บรักษาไว้ในกำปั่น

  27. การปฏิบัติงานด้านการรับและนำส่งเงินรายได้ ระบบ GFMIS วิธี Interface ด้านการนำเงินฝากบัญชีหน่วยงานและนำฝากคลัง • ใบนำฝากเงินเข้าบัญชีพักหน่วยงานถูกต้องตรงกับจำนวนเงินที่นำออกจากกำปั่น • รายงาน Statement ถูกต้องตรงกับรายการนำเงินฝากเข้าบัญชีพักหน่วยงาน • ตรวจสถานะเช็คที่นำฝากเข้าบัญชีพักหน่วยงาน (ธนาคารเรียกเก็บเงินได้แล้ว) • ใบนำเงินฝากคลังถูกต้องตรงกับรายงานสรุปเพื่อนำเงินส่งคลังในระบบงานรายได้ และจำนวนเงินของเช็คที่สั่งจ่ายออกจากบัญชีพักหน่วยงานเพื่อนำฝากบัญชีคลัง • ใบรับเงินจากธนาคาร ถูกต้องตรงกับใบนำเงินฝาก Pay in Slip • รายงาน Statement ถูกต้องตรงกับรายการสั่งจ่ายเช็ค (ถอนเงินจากบัญชีพัก หน่วยงานเพื่อนำฝากเข้าบัญชีฝากคลัง)

  28. จบการนำเสนอ สำนักงานสรรพสามิตพื้นที่บึงกาฬ

More Related