490 likes | 659 Views
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ( Service Plan ). VISION. “ ประชาชนจะเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐาน โดยเครือข่ายบริการเชื่อมโยงที่ไร้รอยต่อสามารถบริการเบ็ดเสร็จภายในเครือข่ายบริการ ”. นพ.สุรชัย โชคครรชิตไชย โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา. ลดอัตราป่วย ลดอัตราตาย มาตรฐานการบริการ เข้าถึงบริการ
E N D
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (ServicePlan) VISION “ประชาชนจะเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐาน โดยเครือข่ายบริการเชื่อมโยงที่ไร้รอยต่อสามารถบริการเบ็ดเสร็จภายในเครือข่ายบริการ” นพ.สุรชัย โชคครรชิตไชย โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา
ลดอัตราป่วย • ลดอัตราตาย • มาตรฐานการบริการ • เข้าถึงบริการ • ลดค่าใช้จ่าย เป้าหมาย
เป้าหมายของกระทรวง 10 สาขา 1. หัวใจและหลอดเลือด 2. มะเร็ง 3. อุบัติเหตุ บรรลุ KPI 4.ทารกแรกเกิด 10 สาขา 5. จิตเวช 6. ตาและไต 7. 5 สาขา 8. ทันตกรรม 9. บริการปฐมภูมิทุติยภูมิและสุขภาพองค์รวม 10. NCD 1. การพัฒนาตามเกณฑ์ขีดความสามารถ ระบบบริการคุณภาพ Back Bone 2. การพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาโรค/ภาวะ ที่เป็นปัญหาสุขภาพ 3. การพัฒนาบริหารจัดการประสิทธิภาพ 4. ระบบการสนับสนุนทรัพยากร นโยบาย กรมต่างๆ นอก สธ. การเมือง สบรส. สนับสนุน
1. การบริหารจัดการ 2. พบส. 1 3. HR 4. Investment การลงทุน กลยุทธ์ในการดำเนินการ 2
Service Plan ประกอบด้วย 1. Service Achievement Plan - 10 เรื่อง+ อื่นๆที่เป็นปัญหาในพื้นที่ -Integrated & Blend -แผน พื้นที่ชาวเขาภาคใต้ - โครงการพระราชดำริในพื้นที่เช่น Iodineฯลฯ -การบาดเจ็บจากความไม่สงบในภาคใต้ 2. Investment Plan -ก่อสร้าง -ครุภัณฑ์
Service Plan ประกอบด้วย 3. HRD เช่น - พยาบาล NP -พยาบาลดมยา -พยาบาลล้างไต -หมอเวชศาสตร์ครอบครัว - นักวิชาการประเมินผลการวิจัย -พยาบาลจิตเวช ฯลฯ -Integrated & Blend 4. Financing 5. Governance & Administrative 6. MIS , IT 7. Technology Assessment
ทำแผนอย่างไร 1)แผน Service Achievement Plan 1.1 ฐานเดิม ( Situation analysis) ปัจจุบัน 1.2 ทำอะไรตามแผน 3 มิติ 1.2.1 มิติ – มาตรฐานระดับ 1,2,3 (เฉพาะ 4 สาขา) -มาตรฐานระดับสถานบริการ A,S,M1,M2 -โรคที่สำคัญๆ ในสาขานั้นๆ -Critical Point ในสาขานั้นๆ
ทำแผนอย่างไร 1.2.2 มิติ Better Service - Accessibility ทำได้มากขึ้นที่ไหน มากขึ้นเท่าใด เมื่อใด -Faster คิวสั้นลง รอน้อยลง -Safer ตายน้อยลง โรคแทรกซ้อนน้อยลง
ทำแผนอย่างไร 1.2.3 มิติ More Efficiency - ใช้ยาน้อยลง แต่รักษาโรคได้ดีขึ้น - ใช้บุคลากรร่วมกันมากขึ้น - ลดต้นทุนคน ของ ฯลฯ - ให้เอกชนทำถูกกว่า - กระจายผู้ป่วยจากรพ.ใหญ่ ไปยังรพขนาดเล็ก และชุมชน -ทำ Ambulatory และ Day Care Surgery ฯลฯ
ทำแผนอย่างไร 1.3 มีตัวชี้วัดอะไร ที่ไหน เมื่อใด ทำอย่างไร 2) แผน Investment ครุภัณฑ์ / ก่อสร้าง 3) แผนพัฒนากำลังคน 4) แผนสร้างวัฒนธรรมทำงานร่วมกัน “พบส. ยุคใหม่”KMGood PracticeBest Practice 5) แผนการจัดซื้อยา วัสดุการแพทย์ Lab. ร่วมกัน -PPP -ฯลฯ
SERVICE ACHIEVEMENT PLAN 10 สาขา 1.สาขาหัวใจ และหลอดเลือด 2.สาขามารดาและทารกแรกเกิด 3.สาขามะเร็ง 4.สาขาอุบัติเหตุ 5.1สาขาตา 5.2 สาขาไต 6.สาขาจิตเวช 7.สาขาหลัก 5 สาขา(สูติ ศัลย์ อายุรกรรม กุมารฯ Ortho) 8.สาขาทันตกรรม 9.สาขาบริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และสุขภาพองค์รวม 10.สาขา โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD)
เป้าหมาย SERVICE PLAN 10 สาขา 1.สาขาหัวใจ 1) ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันได้รับการรักษาด้วยการเปิดเส้นเลือดด้วยการให้ยา Fibrinolytic Agent หรือขยายหลอดเลือดด้วยบอลลูน หรือได้รับการส่งต่อเพื่อให้ยาละลายลิ่มเลือด/ทำบอลลูนขยายเส้นเลือดเท่ากับหรือมากกว่า ร้อยละ 50 ในปี 2556 ,> 80% ในปี 2558 2)ผู้ป่วย STEMI เสียชีวิต เท่ากับหรือน้อยกว่า ร้อยละ 10 ในปี 2558 (Hos.Base)
เป้าหมาย SERVICE PLAN 10 สาขา สาขาหลอดเลือด 1) มีStroke Unit ทุก รพ. ระดับ A เป็นอย่างน้อย และ รพ. ระดับ S ที่พร้อม 2)ระดับ S ,M1 ทุก รพ. สามารถให้ Thrombolytic agent ได้ใน 1 ปี และมีจำนวนผู้ป่วยมากขึ้นตามลำดับทุกปี 2.สาขามารดาและทารกแรกเกิด 1.มี NICU ตามเกณฑ์เพียงพอ จนไม่มีการ Refer นอกจังหวัด นอกเครือข่าย ตามชนิดคนไข้ใน 3 ปี
เป้าหมาย SERVICE PLAN 10 สาขา 3.สาขามะเร็ง 1) ภาคอีสานมีไข่พยาธิใบไม้ตับ น้อยกว่า 10% ใน 5 ปี(2560) ทุกจังหวัด ประเมินผลทุก 1-2 ปี โดย External Audit 2)สตรีไทยมีการตรวจเต้านม จนสามารถพบมะเร็งระยะ 1-2 มากกว่า หรือเท่ากับ 80% ในปี 2557 และเพิ่มขึ้นทุกปี 3)ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก >80% ใน 3 ปี 4) คิวระยะฉายแสงลดลงกว่า 50% ใน 3 ปี
เป้าหมาย SERVICE PLAN 10 สาขา • 4. อุบัติเหตุ • 1) ทุก รพ.ได้มาตรฐาน 1,2,3,4 ตามที่กำหนด ใน 3-5 ปี • 2) การตายใน รพ.ที่มีการให้ PS(>0.75) ตายน้อยกว่า 30% ใน 1-3 ปี และทุกราย ที่ตายต้องถูกทบทวน (ระยะยาว 5 ปี 2560 ลดตายต่อแสน ลดปีละ 1 ต่อแสน)
เป้าหมาย SERVICE PLAN 10 สาขา • 5.1 สาขาตา • ระยะเวลารอคอย Cataract (10/200) < 30 วัน • ระยะเวลารอคอย Cataract Low Vision (20/70) < 90 วัน • 5.2 สาขาไต • มี CKD Clinic ตั้งแต่ระดับ F1 ขึ้นไปเป็นอย่างน้อยใน 1 ปี และพัฒนาดีขึ้นตามลำดับ • คิวบริการ HD, CAPD มีบริการอย่างไม่มีคิวใน 3 ปี
เป้าหมาย SERVICE PLAN 10 สาขา • 6. สาขาจิตเวช • มีจิตเวชบริการทุกระดับตามมาตรฐานใน 5 ปี อย่างมีเป้าหมายเป็นระยะทุกปี ทุกระดับโรงพยาบาล
เป้าหมาย SERVICE PLAN 10 สาขา • 7 สาขาหลัก • มีการกระจายการผ่าตัดผู้ป่วยไส้ติ่งอักเสบ ออกจาก • รพศ.(A) ไปยัง รพ.ในเครือข่ายที่เครือข่ายเป็นผู้ • กำหนด >50% ใน 2 ปี • 2) ลดอัตรามารดาตาย ไม่เกิน 20 /แสนการเกิดมีชีพ • ภายใน 5 ปี (ปัจจุบัน 30/แสนการเกิดมีชีพ) • 3) CMI รายแผนกมีระบบจัดการตามเป้าหมายเพื่อ • กระจายผู้ป่วยที่ไม่มีความจำเป็นหรือส่งกลับไปรักษา • รพ.เป้าหมาย
เป้าหมาย SERVICE PLAN 10 สาขา • 8.สาขาทันตกรรม • 1) มีการจัดบริการทันตสุขภาพโดยทันตแพทย์และ/หรือ • ทันตาภิบาล ในศสม.ทุกแห่ง ใน 1 ปีและพัฒนาดีขึ้น • ตามลำดับ • 2) ใน รพ.สต. มีบริการทันตสุขภาพเพียงพอและเข้าถึงใน • 3-5 ปี ตามแผนที่เครือข่ายดำเนินการพร้อมเครื่องมือที่เหมาะสม
เป้าหมาย SERVICE PLAN 10 สาขา • 9.สาขาบริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และสุขภาพองค์รวม • มี ศสม. ตามเกณฑ์มาตรฐานได้ครอบคลุมประชากรในเขตเมืองทั้งหมดอย่างได้มาตรฐานใน 3ปี- 5 ปี • 2) OP ใน รพ.ระดับ A, S, M1,M2,F1,F2 อย่างน้อย • ไม่เพิ่มขึ้นในปี 2556 และลดลง 30% ใน 5 ปี • 3) สัดส่วน OPD ผป.เรื้อรัง ดูแลใน รพ.สต., ศสม. > 50% • ภายใน 3 ปี
เป้าหมาย SERVICE PLAN 10 สาขา • 10.สาขาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(NCD) • 1) มี CQI ในทุกระดับ ในตัวชี้วัดหลัก (ควบคุมน้ำตาล, ความดันได้ดีกว่าปีที่ผ่านมาปีละ 3-5%)
1. ตั้งคณะกรรมการดำเนินการของเครือข่าย • คณะกรรมการบริหารเครือข่าย • คณะกรรมการจัดทำแผน 10 สาขา และตัวแทนเครือข่าย 2. กำหนดระดับของสถานบริการในเครือข่าย การดำเนินการของเครือข่ายบริการที่ 4
3. ทำแผนพัฒนาเครือข่าย • การแก้ปัญหาเฉพาะพื้นที่ • การจัดการระบบส่งต่อภายในจังหวัด+ภายในเขต • Mapping บริการแต่ละสาขา • กำหนดเป้าหมาย (Shorttermและ Longterm) • กำหนด KPI (Shorttermและ Longterm) • กำหนดแผนงานและระบบติดตาม การดำเนินการของเครือข่ายบริการที่ 4
การนำเสนอผลการดำเนินงานรายสาขาการนำเสนอผลการดำเนินงานรายสาขา ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากการประชุมจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการ๑๐ สาขาหลัก เครือข่ายบริการที่ ๔ รายสาขา วันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๕๕ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลสระบุรี
เป้าหมายระยะสั้น เป้าหมายระยะยาว KPI Out come
- เพิ่มการจัดระบบการดูแลผู้ป่วย Stroke สาขาหัวใจและหลอดเลือด
สาขามารดาและทารกแรกเกิดสาขามารดาและทารกแรกเกิด - ให้มีการพัฒนารายโรคที่เป็นปัญหาหลัก - การพัฒนา NICU ให้สอดคล้องตามศักยภาพสถานพยาบาล - การพัฒนาสิ่งก่อสร้าง และบุคลากรให้สอดรับการจัดบริการ
กำหนดตัวชี้วัดคุณภาพ แผนการส่งต่อภายในเครือข่าย Service Plan สาขาอุบัติเหตุ
- การเตรียมความพร้อมในช่วงเทศกาลต่างๆ - การจัดทำระบบส่งต่อภาพรวมทั้งเขต สาขาอุบัติเหตุ
ปัญหา งานสาขาหลัก แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาหลัก(สูติ-ศัลย์-MED-เด็ก-Ortho)
- ความขาดแคลนของอายุรแพทย์/ศัลยแพทย์ • การจัดทำระบบส่งต่อผู้ป่วยเรื้อรังในจังหวัด โดยเชื่อมโยงบริการตั้งแต่ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และ ตติยภูมิ • การพัฒนาศักยภาพหน่วยบริการให้สามารถดำเนินงานได้เหมาะสม ข้อเสนอแนะสาขาอายุรกรรม/สาขาศัลยกรรม
ข้อเสนอแนะสาขาสูติกรรมข้อเสนอแนะสาขาสูติกรรม - จัดระบบการดูแลหญิงตั้งครรภ์ตามศักยภาพหน่วยบริการ ตั้งแต่ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ - การลงทุนเครื่องมือทางการแพทย์เพื่อเพิ่มศักยภาพการดูแล • ข้อเสนอแนะสาขาออร์โธปิดิคส์ - จัดระบบส่งต่อผู้ป่วย - ลดความแอออัด
+รพ. พระนั่งเกล้า SERVICE PLAN สาขาจักษุ 2557 รพศ. สระบุรี รพ. สมเด็จพระนารายณ์ 2558 +รพศ. อยุธยา
ข้อเสนอแนะสาขาจักษุ ให้เพิ่มข้อมูลพื้นฐาน อัตราครองเตียง IPD OPD
การจัดตั้งคลินิกจิตเวช ใน รพ.ชุมชนทุกแห่งในเครือข่าย มากกว่า ร้อยละ 50 • การพัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยในเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 4 2 3 1 2 1 3 3 2 SERVICE PLAN สาขาจิตเวช 1 3 3 2 1 = ระดับA 2 = ระดับS 3= ระดับ M1
- บุคลากรไม่พอเพียง - การเลือกหน่วยบริการในเครือข่ายเปิดตึกผู้ป่วยใน - การจัดระบบการดูแลผู้ป่วยที่มีโรคทางกายร่วมกับการดูแลสุขภาพจิต - การจัดระบบส่งต่อผู้ป่วย ข้อเสนอแนะสาขาจิตเวช
ข้อเสนอแนะสาขาทันตกรรมข้อเสนอแนะสาขาทันตกรรม - ใช้เงินกองทุนทันตกรรมมาช่วยในการบริหารจัดการภาพรวม การวิเคราะห์ปัญหา เน้นการเข้าถึงบริการ และการจัดระบบส่งต่อเพื่อให้ประชาชนได้รับบริการครอบคลุม
การพัฒนาระบบบริการด้านองค์รวมการพัฒนาระบบบริการด้านองค์รวม • เป้าหมาย :พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพระดับอำเภอได้มาตรฐาน แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบเครือข่ายบริการสุขภาพระดับอำเภอ แผนพัฒนาบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ แผนลงทุน วัสดุ /ครุภัณฑ์/ เครื่องมือ แผนกำลังคน + + ปี 2557 เน้น บริการ คือ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ผู้ป่วยจิตเวช ผู้ป่วยระยะสุดท้าย
- เน้นนโยบายเร่งด่วน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข - การจัดศูนย์การฝึกอบรม FM - นำร่อง DHS ข้อเสนอแนะสาขาบริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และสุขภาพองค์รวม
ข้อเสนอแนะสาขามะเร็ง - จัดระบบส่งต่อผู้ป่วย ประสานกับศูนย์มะเร็งในพื้นที่ และดึงเครือข่ายอื่นๆ ร่วม (สถาบันมะเร็งมหาวิทยาลัย) วางแผนประสานกรมการแพทย์/ศูนย์อนามัย - จัดทำ Guideline ระบบส่งต่อ - นำเสนอจุดเด่นการจัดบริการสาขามะเร็ง ที่ได้จัดระบบการรักษาไว้แล้ว
ข้อเสนอแนะสาขาโรคไต - จัดระบบการให้คำปรึกษา - การจัดตั้ง CKD Clinic ในโรงพยาบาลที่มีความพร้อม - การจัดทำ Guideline ระบบส่งต่อ
ข้อสรุปการบริหารจัดการภาพรวม๑. ให้ทุกสาขาทบทวนรายชื่อคณะกรรมการ ให้มีความครอบคลุมทุกจังหวัดในเครือข่ายบริการ และคัดเลือกผู้แทนเครือข่าย สาขาละ ๓ คน๒. ให้ทุกสาขาเพิ่มข้อมูลพื้นฐานประกอบแผน ๓. ให้ทบทวนเป้าหมายบริการ และแผนการพัฒนาบริการ โดยปรับปรุงตามที่ได้รับข้อเสนอแนะ ส่งเลขาฯ ภายในวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ เวลา ๑๕.๐๐ น.