1 / 14

FPGA และ Programmable Logic Devices อื่นๆ

FPGA และ Programmable Logic Devices อื่นๆ. ( F ield- P rogrammable G ate A rray). เนื้อหา. หลักการของ programmable logic device (PLD) และวิธีการโปรแกรมสร้างวงจรตรรกดิจิตอล หลักการของ field-programmable gate array (FPGA) และวิธีการโปรแกรมสร้างวงจรตรรกดิจิตอล

laurie
Download Presentation

FPGA และ Programmable Logic Devices อื่นๆ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. FPGA และ Programmable Logic Devices อื่นๆ (Field-Programmable Gate Array)

  2. เนื้อหา • หลักการของ programmable logic device (PLD) และวิธีการโปรแกรมสร้างวงจรตรรกดิจิตอล • หลักการของ field-programmable gate array (FPGA) และวิธีการโปรแกรมสร้างวงจรตรรกดิจิตอล • การใช้งาน FPGA กับภาษา HDL อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อออกแบบหรือสร้างวงจรดิจิตอลขนาดใหญ่ อ.เกษมสุข เสพศิริสุข

  3. Programmable Logic Devices • PLD เป็นไอซีที่ผลิตล๊อตใหญ่ๆมากจากโรงงาน และผู้ใช้งานสามารถโปรแกรมสร้างวงจรได้ตามที่ต้องการ • วงจรที่สร้างได้อาจเป็น combinational-logic ไปจนวงจร sequential state machine ที่ซับซ้อนได้ • มีหลากหลายเช่น PLA-Programmable logic array, PAL-Programmable AND-array logic, GAL-Generic-array logic และ PROM-Programmable read-only memmory • อาจกล่าวได้ว่า FPGA ก็เป็น PLD ชนิดหนึ่ง อ.เกษมสุข เสพศิริสุข

  4. การสร้างวงจรเฉพาะ (Circuit Customization) • บางครั้งเรียกว่า PLD programming • การโปรแกรม เป็นการเปิด(open)หรือปิดวงจร(short)ระหว่างจุดตัดในแนวตั้งและแนวนอน ณ.ตำแหน่งที่ต้องการ ซึ่งอาจจะเป็นแบบชั่วคราวหรือถาวร • ชิพอาจถูกสร้างมาเป็นแบบ short ทั้งหมดหรือ open ทั้งหมดแล้วมีส่วนที่ให้ผู้ใช้ปรับเปลี่ยนในภายหลังได้ • Fusible linkคือเมื่อเลือกจุดตัดนั้นแล้วกระแสหรือแรงดันจะทำให้จุดนั้น open • Antifuse คือเมื่อเลือกจุดตัดนั้นแล้วกระแสหรือแรงดันจะทำให้จุดนั้น short • การโปรแกรมแบบถาวรเรียกว่า One-time programming (OTP) อ.เกษมสุข เสพศิริสุข

  5. วิธีฟิวส์เป็นการโปรแกรมแบบถาวร ซึ่งต่างจากการใช้เมมโมรี่ + nMOS • เมมโมรี่อาจเป็นแบบ SRAM (volatile ต้องการไฟเลี้ยง) หรือ Flash (Non-volatile ไม่ต้องการไฟเลี้ยง) อ.เกษมสุข เสพศิริสุข

  6. Programmable Logic Arrays • ประกอบด้วยอาเรย์ของ AND และ OR • เพื่อความง่าย AND และ OR gate มีหลายอินพุทแต่เขียนเพียง เส้นเดียว • Output ของ AND เป็น product ส่วนของ OR เป็น sum-of-product • N x P x M PLA คือมี • N อินพุท • P โปรดักท์ (การแอน) • M เอาท์พุท อ.เกษมสุข เสพศิริสุข

  7. ตัวอย่าง วงจรลบ 1บิท • วงจร a – b – borrow_in • ให้ w เป็น borrow_in อ.เกษมสุข เสพศิริสุข

  8. การสร้างวงจรด้วย nMOS • ในรูปเป็น 3x4x2 PLA ที่สร้างด้วย nMOS เฉพาะ ผลลบ(res) • จะเห็นว่า nMOS จะถูกนำมาใช้เป็นแบบ NOR-NOR-invert • เนื่องจาก NOR สามารถนำไปทำเกตชนิดอื่นได้ง่าย Not-AND = NOR Not-NOR = OR อ.เกษมสุข เสพศิริสุข

  9. PROM อ.เกษมสุข เสพศิริสุข

  10. PROM (ต่อ) อ.เกษมสุข เสพศิริสุข

  11. PAL อ.เกษมสุข เสพศิริสุข

  12. FPGA อ.เกษมสุข เสพศิริสุข

  13. อ.เกษมสุข เสพศิริสุข

  14. อ.เกษมสุข เสพศิริสุข

More Related