1 / 15

บทปฏิบัติการที่ 6 ปีกของแมลง ( Insect Wings)

บทปฏิบัติการที่ 6 ปีกของแมลง ( Insect Wings).

Download Presentation

บทปฏิบัติการที่ 6 ปีกของแมลง ( Insect Wings)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทปฏิบัติการที่ 6 ปีกของแมลง (Insect Wings) ปีกของแมลงเกิดจากผนังลำตัวยื่นออกไปด้านข้าง โดยทั่วไปแมลงมีปีกสองคู่ ที่อกปล้องกลาง และอกปล้องสุดท้าย ส่วยแมลงวันมีปีกคู่เดียวที่อกปล้องกลางส่วนปีกคู่หลังถูกแปลงเป็นติ่งที่เรียกว่าฮาลเตอเรส(Halteres) ในแมลงหางหนีบปีกคู่แรกสั้นเพียงครึ่งเดียว ส่วนในแมลงวรรณะของมด ปลวก ตั๊กแตนกิ่งไม้ และแมลงตัวเบียน เช่น ไรไก่ หมัด เหา ปีกจะเสื่อมหายไป

  2. ปีกแมลงมีรูปร่างค่อนไปทางสามเหลี่ยมเป็นแผ่นบาง มีเส้นปีกเรียงตัวในลักษณะต่างๆ กัน ลักษณะเนื้อปีกของแมลงแตกต่างกันดังนี้; - อีไลตรา(Elytra)เนื้อปีกแข็งตอลดทั้งปีก เช่น ปีกคู่หน้าด้วงปีกแข็ง • ฮีมอีไลตรา(Hemelytra) เนื้อปีกส่วนโคนแข็ง ส่วนปลายปีกบาง เช่น ปีกหน้าของมวน • เทกมินา(Tegmina) เนื้อปีกครึ่งแข็งครึ่งอ่อนตลอดทั้งปีก เห็นเส้นปีก เช่น ปีกคู่หน้าตั๊กแตน • เมมเบรน(Membrane) เนื้อปีกบางใสทั้งปีก เห็นเส้นปีกชัดเจน เช่น ปีกแมลงปอ ผึ้ง ต่อ แตน ผีเสื้อ

  3. ลักษณะของปีกคู่หน้าและคู่หลังในตั๊กแตนลักษณะของปีกคู่หน้าและคู่หลังในตั๊กแตน

  4. ลักษณะของปีกแบบอีไลตราลักษณะของปีกแบบอีไลตรา

  5. ลักษณะของปีกแบบฮีมอีไลตราลักษณะของปีกแบบฮีมอีไลตรา

  6. ลักษณะของปีกแบบเทกมิน่าลักษณะของปีกแบบเทกมิน่า

  7. ลักษณะของปีกแบบเมมเบรนลักษณะของปีกแบบเมมเบรน

  8. เส้นปีก มีประโยชน์ในการจำแนกและวิเคราะห์ชนิดของแมลง เส้นปีกประกอบด้วย เส้นปีกแนวนอน แนวขวาง เส้นปีกในแนวนอนเรียงลำดับจากขอบบนปีกดังนี้ • คอสตา(Costa,C)เส้นขอบปีกเส้นเดี่ยว • สับคอสตา(Subcosta, Sc)ถัดลงมาจากคอสตา มักไม่แตกสาขา แต่ถ้ามีจะเป็นSc1, Sc2 • เรเดียส(Radius,R)ถัดจากScมักมีห้าสาขาโดยตอนต้นเรียกเป็นRและ Rs โดยที่Rsจะแยกเป็น4สาขาคือR2, R3, R4, R5 • มีเดีย(Media,M)ถัดจากRส่วนใหญ่มี4สาขา คือM1, M2, M3, M4 • คิวบิตัส(Cubitus,Cu)ถัดจากMแตกเป็น สาขาCu1, Cu2โดยที่Cu1 แตกเป็นCu1a, Cu1b • เอนอล(Anals, A)เป็นเส้นปีกชุดสุดท้ายมี3เส้น คือ1A, 2A,3A

  9. เส้นขวางปีก เป็นเส้นเชื่อมระหว่างเส้นนอน การเรียกชื่ออาศัยตำแหน่งเป็นสำคัญ เช่น ครอสตอล ครอสเวน( Costal Crossvein )เป็นเส้นขวางที่เชื่อมระหว่าง Cและ Sc • ในแมลงที่มีวิวัฒนาการต่ำจะมีเส้นปีกอยู่ครบ ส่วนแมลงที่มีวิวัฒนาการสูงจะมีจำนวนเส้นปีกลดลง เนื่องจากการรวมตัวของเส้นปีก • บนผิวปีกแมลงบางชนิด เช่นปีกผีเสื้อจะมีสเกลคลุมให้ทำให้มีสีสันแตกต่างกันไป ส่วนแมลงปอ ต่อ แตน จะพบจุดสี ติดอยู่ที่ปลายปีก

  10. ลักษณะของปีกชนิดต่างๆลักษณะของปีกชนิดต่างๆ

  11. ลักษณะของปีกชนิดต่างๆลักษณะของปีกชนิดต่างๆ

  12. ลักษณะของเส้นปีก

More Related