340 likes | 757 Views
พระราชบัญญัติป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542. - การดำเนินคดีเกี่ยวกับทรัพย์สิน. - การดำเนินคดีอาญาฟอกเงิน. พระราชบัญญัติป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542. - ใช้บังคับ 120 วัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา. - ประกาศ 21 เมษายน 2542. - บังคับใช้ 19 สิงหาคม 2542.
E N D
พระราชบัญญัติป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 - การดำเนินคดีเกี่ยวกับทรัพย์สิน - การดำเนินคดีอาญาฟอกเงิน
พระราชบัญญัติป้องกัน และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 - ใช้บังคับ 120 วัน นับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา - ประกาศ 21 เมษายน 2542 - บังคับใช้ 19 สิงหาคม 2542
ในส่วนของพนักงานอัยการในส่วนของพนักงานอัยการ - สำนักงานอัยการพิเศษฝ่ายคดีพิเศษ 3 - สำนักงานอัยการจังหวัด
สำนักงานอัยการพิเศษฝ่ายคดีพิเศษ 3 ตามคำสั่งสำนักงานอัยการสูงสุดที่ 166/2546 รับผิดชอบการดำเนินการเกี่ยวกับทรัพย์สิน - ดำเนินคดีในศาลแพ่ง - พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 การดำเนินคดีของศาลให้ยื่นต่อศาลแพ่งและให้นำ ป.วิแพ่งมาใช้บังคับโดยอนุโลม รับผิดชอบดำเนินคดีอาญาทั้งปวง ในเขตกรุงเทพมหานคร - ศาลอาญา, อาญากรุงเทพใต้, อาญาธนบุรี
สำนักงานอัยการจังหวัดสำนักงานอัยการจังหวัด รับผิดชอบดำเนินคดีอาญาฐานฟอกเงิน ในเขตอำนาจที่รับผิดชอบ
การฟอกเงิน Money Laundering - หมายถึงการโอน การรับโอน การเปลี่ยนสภาพทรัพย์สินที่เกิด จากการกระทำความผิด เพื่อซุกซ่อนแหล่งที่มาของทรัพย์สินนั้น หรือเพื่อช่วยเหลือผู้อื่นไม่ว่าก่อน ขณะหรือหลังการกระทำผิด เพื่อมิให้ต้องรับโทษหรือรับโทษน้อยลงในความผิดมูลฐาน หรือ - กระทำด้วยประการใด ๆ เพื่อปกปิด หรืออำพรางลักษณะที่แท้จริง การได้มาแหล่งที่ตั้ง การจำหน่าย การโอน การได้สิทธิใด ๆ ซึ่งทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำความผิด
ความผิดมูลฐาน (1) ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดหรือกฎหมายว่าด้วยมาตรการในการปราบปรามผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด (2) ความผิดเกี่ยวกับเพศ เฉพาะที่เกี่ยวกับการเป็นธุระจัดหา ล่อไป หรือพาไปเพื่อการอนาจารหญิงและเด็ก (3) ความผิดเกี่ยวกับการฉ้อโกงประชาชน หรือความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการกู้ยืมเงินที่เป็นการฉ้อโกงประชาชน (4) ความผิดเกี่ยวกับการยักยอกหรือฉ้อโกงหรือประทุษร้ายต่อทรัพย์หรือกระทำโดยทุจริตตามกฎหมายว่าด้วยการธนาคารพาณิชย์ ฯลฯ
(5) ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ (6) ความผิดเกี่ยวกับการกรรโชก หรือรีดเอาทรัพย์ที่กระทำ โดยอ้างอำนาจอั้งยี่ หรือซ่องโจร (7) ความผิดเกี่ยวกับการลักลอบหนีศุลกากรตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร (8) ความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 135/1-4 (9) ความผิดเกี่ยวกับการพนันตามกฎหมายว่าด้วยการพนัน เฉพาะผู้จัดให้มีการเล่น และมีจำนวนผู้เข้าเล่นหรือเข้าพนันในการเล่นแต่ละครั้งเกินกว่าหนึ่งร้อยคน หรือมีวงเงินในการกระทำความผิดรวมกันมีมูลค่าเกินกว่าสิบล้านบาทขึ้นไป
(10) ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.2550 มาตรา 3 (11) ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ.2551 มาตรา 14
ความหมาย - ความผิดที่ก่อให้เกิดรายได้ที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายที่นำไปสู่การฟอกเงิน
องค์ประกอบความผิด ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 กรณีที่ 1 ตามมาตรา 5(1) องค์ประกอบคือ 1. ผู้ใด (รวมถึงนิติบุคคล) 2. กระทำการโอน รับโอน หรือเปลี่ยนแปลงสภาพทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำความผิด
3. เจตนาธรรมดาตาม ปอ.ม.59 4. เจตนาพิเศษ - เพื่อซุกซ่อน ปกปิดแหล่งที่มาของทรัพย์สินนั้น - เพื่อช่วยเหลือผู้อื่นไม่ว่าก่อนขณะหรือหลังการกระทำความผิดมิให้ต้องรับโทษหรือรับโทษน้อยลงในความผิดมูลฐาน
กรณีที่ 2 ตามมาตรา 5(2) องค์ประกอบ คือ 1. ผู้ใด (รวมถึงนิติบุคคล) 2. กระทำด้วยประการใด 3. เจตนาธรรมดาตาม ปอ.ม.59 4. เจตนาพิเศษ เพื่อปกปิดอำพรางลักษณะที่แท้จริงการได้มาแหล่งที่ตั้ง การจำหน่าย การโอน การได้สิทธิใด ๆ ซึ่งทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำผิดจริง
ความผิดกรณีฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามมาตรการต่าง ๆ ที่กฎหมายกำหนดไว้ - ความผิดฐานไม่รายงานธุรกรรม ตาม พรบ. ปปง. มาตรา 13, 14 - เงินสด 2 ล้าน - ทรัพย์สิน 5 ล้าน - เมื่อสงสัย - ความผิดฐานไม่รายงานธุรกรรม ตาม พรบ. ปปง. มาตรา 16
หลักการที่แตกต่างจากกฎหมายอาญาหลักการที่แตกต่างจากกฎหมายอาญา - ม. 6 ทำนอกราชอาณาจักร รับโทษในราชอาณาจักร ถ้า - ผู้ร่วมทำเป็นคนไทย - ผู้ทำเป็นคนต่างด้าว แต่ประสงค์ให้เกิดในประเทศ - เป็นคนต่างด้าว และผิดฟอกเงินต่างด้าว หากเข้ามาใน ราชอาณาจักร และมิได้ส่งผู้ร้ายข้ามแดน - การสนับสนุนหรือช่วยเหลือผู้กระทำผิด รับโทษ เช่น ตัวการ มาตรา 7 - การสมคบกันตั้งแต่สองคนเพื่อกระทำผิด รับโทษกึ่งหนึ่ง มาตรา 9 - การพยายามกระทำผิดฐานฟอกเงิน รับโทษ เช่น เกี่ยวกับผู้กระทำผิดสำเร็จ มาตรา 8 - นิติบุคคลกระทำผิด ผู้จัดการนิติบุคคล ต้องรับผิดชอบ
การจับกุมตามกฎหมายฟอกเงินการจับกุมตามกฎหมายฟอกเงิน - เจ้าพนักงานตำรวจ - ปปง. มาตรา 38/1
การดำเนินคดีที่เป็นความผิดหลายฐานเกี่ยวพันกัน พนักงานสอบสวนต้องดำเนินคดีอาญาฐานฟอกเงิน เป็นคดีอาญาอีกฐานหนึ่งต่างจากความผิดมูลฐาน ความผิดหลายฐานเกี่ยวพันกับ ที่ อส 0015/ว 43 ลงวันที่ 16 มีนาคม 2544
การดำเนินการเกี่ยวกับทรัพย์สินการดำเนินการเกี่ยวกับทรัพย์สิน อำนาจ ปปง. มาตรา 34, 38, 48
การเริ่มตรวจสอบทรัพย์สินการเริ่มตรวจสอบทรัพย์สิน ปปง. รับรายงานจาก - สถาบันการเงิน - สำนักงานที่ดิน - ผู้ประกอบอาชีพเกี่ยวกับการดำเนินการเพื่อให้คำแนะนำในการทำธุรกรรมเกี่ยวกับการลงทุนหรือการเคลื่อนย้ายงาน
- ตำรวจ - ปปส. - ธนาคารแห่งประเทศไทย - ประชาชนทั่วไป
การดำเนินการตรวจสอบ - มีเหตุอันควรเชื่อบุคคลดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดมูลฐานหรือความผิดฐานฟอกเงิน - ทรัพย์สินเป็นทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำผิด
คณะกรรมการธุรกรรม มีมติมอบหมาย ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน มาตรา 34, 38
ตรวจสอบความผิดมูลฐาน เช่น มูลฐานยาเสพติด - ผลคดี - พยานบุคคล - พยานวัตถุ - ญาติพี่น้อง - ผลคดี พยานบุคคล วัตถุ ทรัพย์ ตรวจสอบทรัพย์
เมื่อมีเหตุอันควรเชื่อว่ามีการโอนฯเมื่อมีเหตุอันควรเชื่อว่ามีการโอนฯ ออกคำสั่ง ย. ตามพรบ. ปปง. ม. 48
ส่งคดีตรวจสอบทรัพย์สินส่งคดีตรวจสอบทรัพย์สิน ส่งไปยังพนักงานอัยการ ส่งที่สำนักงานอัยการพิเศษฝ่ายคดีพิเศษ 3 เท่านั้น
การพิจารณาสำนวน 1. จะต้องมีการกระทำความผิดมูลฐาน 2. เชื่อได้ว่าทรัพย์สินนั้นเกี่ยวกับการ กระทำความผิดมูลฐาน
กรณีพิจารณาแล้วหลักฐานไม่พอกรณีพิจารณาแล้วหลักฐานไม่พอ - พนักงานอัยการแจ้งข้อไม่สมบูรณ์ให้เลขาธิการ ปปง. ทราบ - ให้เลขาฯที่ดำเนินการแล้วส่งเรื่องไปให้พนักงานอัยการอีกครั้ง - หากยังไม่สมบูรณ์ให้พนักงานอัยการแจ้งและส่งเรื่องให้กรรมการการฟอกเงินพิจารณาเพื่อชี้ขาดภายใน 30 วัน นับแต่รับเรื่องจากเลขาฯ
การคุ้มครองสิทธิผู้เสียหายการคุ้มครองสิทธิผู้เสียหาย พรบ.ปปง. ม.49 วรรคท้าย , 52
การดำเนินการขอให้ทรัพย์การดำเนินการขอให้ทรัพย์ ตกเป็นของแผ่นดินยื่นศาลแพ่ง ศาลเดียว ยกเว้นค่าฤชาธรรมเนียมทั้งปวง มาตรา 59
ขั้นตอนการดำเนินคดีแพ่งขั้นตอนการดำเนินคดีแพ่ง - ทำเป็นคำร้อง - ศาลจะทำเป็นคำสั่ง - ม. 49 - ประกาศ 2 วัน (ม.49 ว.5) ฯลฯ - เจ้าของ อ้างว่าเป็นเจ้าของ คัดค้านก่อนมีคำสั่ง - ต้องอ้างว่า - ตนเป็นเจ้าของที่แท้จริง - ตนเป็นผู้รับโอนโดยสุจริต และสินค้าตอบแทน - ยื่นบัญชีพยานไม่น้อยกว่า 7 วัน ก่อนวันสืบ ป.วิแพ่ง ม.88 วรรค 1 - สำเนาเอกสารก่อนวันสืบ 7 วัน (ป.วิ.แพ่งม.90) ปกติยื่นคำร้อง
พนักงานอัยการยื่นคำร้องแล้ว มีเหตุพอเชื่อว่าอาจมีการโอน จำหน่าย ยักย้ายทรัพย์ - ยื่นคำขอฝ่ายเดียว ขอให้ศาลมีคำสั่งยึด - อายัดชั่วคราวเป็นการด่วน มาตรา 55 - เช่นเดียวกับชั้นอุทธรณ์ - ฎีกา
- ผู้อ้างว่าเป็นเจ้าของหรือผู้รับโอน เกี่ยวข้อง หรือเคยเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับผู้กระทำผิดมูลฐาน ให้สันนิษฐานไว้ก่อนกว่า บรรดาทรัพย์สินดังกล่าว เป็นทรัพย์สินที่เกี่ยวกับการกระทำผิด หรือรับโอนมาโดยไม่สุจริต มาตรา 51
ทรัพย์ใดดำเนินการได้ตามกฎหมายอื่นอยู่แล้ว แต่ยังไม่ดำเนินการกับทรัพย์ หรือดำเนินการแล้วไม่เป็นผลให้ดำเนินการตามพ.ร.บ.ฟอกเงิน 2542 มาตรา 58