1 / 36

สุรีภรณ์ สีสิงห์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี

การแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า2500 กรัม ปีงบประมาณ 2555 จังหวัดอุดรธานี. สุรีภรณ์ สีสิงห์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี. สถานการณ์ทารกน้ำหนักต่ำกว่า2500 กรัม. ร้อยละของทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2500 กรัม ระดับประเทศ พ.ศ. 2542 - 2552. ร้อยละ. เกณฑ์ร้อยละ7. พ.ศ.

keanu
Download Presentation

สุรีภรณ์ สีสิงห์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า2500 กรัม ปีงบประมาณ 2555 จังหวัดอุดรธานี สุรีภรณ์ สีสิงห์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี

  2. สถานการณ์ทารกน้ำหนักต่ำกว่า2500 กรัม

  3. ร้อยละของทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2500 กรัม ระดับประเทศ พ.ศ. 2542 - 2552 ร้อยละ เกณฑ์ร้อยละ7 พ.ศ. ที่มา: กรมอนามัย

  4. ร้อยละทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมแยกตามรายเขตตรวจราชการ พ.ศ. 2552 ร้อยละ เป้าหมาย : ร้อยละ 7 เขต แหล่งข้อมูล :รายงาน e- inspesction สำนักตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข

  5. ร้อยละของมารดาอายุน้อยกว่า 20 ปีเมื่อคลอดบุตรระดับประเทศ ปีงบประมาณ 2544 – 2552 เกณฑ์ร้อยละ10 กลุ่มงานอนามัยแม่และเด็ก สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย

  6. หญิงตั้งครรภ์คลอดบุตรอายุต่ำกว่า 20 ปี พ.ศ. 2552 จำแนกรายเขต ร้อยละ เป้าหมายร้อยละ10.0 เขต

  7. สถานการณ์จังหวัดอุดรธานีสถานการณ์จังหวัดอุดรธานี

  8. ร้อยละของทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2500 กรัม จังหวัดอุดรธานี พ.ศ. 2542 - 2554 ร้อยละ เกณฑ์ร้อยละ7 พ.ศ.

  9. ร้อยละของทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2500 กรัม ที่เกิดจากมารดาอายุ 10-19 ปี จังหวัดอุดรธานี พ.ศ. 2553-2555( ต.ค.- มี.ค. 55 ) ร้อยละของทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2500 กรัม จังหวัดอุดรธานี พ.ศ. 2542 - 2553 ร้อยละ เกณฑ์ร้อยละ7 พ.ศ. แหล่งข้อมูล รายงานก1ก2 สสจ.อุดรธานี

  10. ร้อยละของภาวะโภชนาการด้วยวัลลภเคิร์พในหญิงตั้งครรภ์(น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์)ร้อยละของภาวะโภชนาการด้วยวัลลภเคิร์พในหญิงตั้งครรภ์(น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์) จังหวัดอุดรธานี พ.ศ. 2549 - 2554 ร้อยละ พ.ศ.

  11. ร้อยละของการคลอดก่อนกำหนดร้อยละของการคลอดก่อนกำหนด จังหวัดอุดรธานี พ.ศ. 2552 - 2554 ร้อยละ

  12. ร้อยละของมารดาคลอดบุตรอายุต่ำกว่า 20 ปี จังหวัดอุดรธานี พ.ศ. 2542 - 2553 ร้อยละ เกณฑ์ร้อยละ10 พ.ศ. ที่มา:ก1ก2 สสจ.อุดรธานี

  13. สาเหตุของปัญหาที่พบ ภาวะทางเศรษฐกิจ มารดาส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีฐานะยากจน ร้อยละ 54.9 การศึกษา มารดามีการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 45.1 ภาวะโภชนาการ มารดาได้รับประทานอาหารที่ไม่พอเพียงหรือไม่เหมาะสมจะทำให้มารดาไม่แข็งแรง พบว่ามารดาน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์น้อยกว่า 10 กิโลกรัม ร้อยละ 65.5 มารดามีภาวะแทรกซ้อนที่พบขณะตั้งครรภ์ โดยมี ภาวะคลอดก่อนกำหนด ร้อยละ 30.1 รองลงมาเป็นภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด ร้อยละ 8.8 อายุของมารดา มารดาตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า20ปีหรือมากกว่า35ปี ร้อย 64.6 (ข้อมูล: จากการศึกษาอุบัติการณ์ทารกน้ำหนักน้อยของมารดาที่คลอดในสถานบริการของรัฐ ปี2551 จังหวัดอุดรธานี )

  14. วัตถุประสงค์การดำเนินงานวัตถุประสงค์การดำเนินงาน 1.เพื่อให้มารดา ทารก และครอบครัวไทย มีสุขภาพที่ดี ได้มาตรฐานสากล 2. เพื่อลดอัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า2500 กรัม อัตราการคลอดก่อนกำหนดในสตรีตั้งครรภ์และ ทารกกลุ่มเสี่ยง

  15. แนวคิดการป้องกันทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยแนวคิดการป้องกันทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย การป้องกัน ทารกแรกคลอดน้ำหนักน้อย

  16. แนวทางการดำเนินงานจังหวัดอุดรธานีแนวทางการดำเนินงานจังหวัดอุดรธานี

  17. ประเด็นสำคัญในการป้องกันหรือแก้ไขปัญหาเด็กแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า2500กรัมประเด็นสำคัญในการป้องกันหรือแก้ไขปัญหาเด็กแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า2500กรัม ควรมุ่งไปที่การป้องกันหรือแก้ไขปัญหา 1. ภาวะ IUGR คือ ภาวะโภชนาการของมารดา 2. การคลอดก่อนกำหนด

  18. ภาวะโภชนาการของมารดา น้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้นขณะตั้งครรภ์ที่เหมาะสม • กลุ่มดัชนีมวลกายน้อยกว่าปกติ ควรมีน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น 12.5-18 กิโลกรัม • กลุ่มดัชนีมวลกายปกติ ควรมีน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น 11.5-16 กิโลกรัม • กลุ่มดัชนีมวลกายมากกว่าปกติ ควรมีน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น 7-11.5 กิโลกรัม • มีลูกแฝดควรมีน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น 16-20 กิโลกรัม ใช้กราฟโภชนาการ เส้นทางลูกรัก

  19. จากการศึกษาของคณะสาธารณสุข มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด พบสุขภาพของทารกในครรภ์เป็นผลลัพธ์โดยตรงที่เกิดจากอาหารที่มารดาบริโภคในขณะตั้งครรภ์ได้ ในสตรีกลุ่มตัวอย่างที่มีการกินอาหารที่มีคุณภาพดีเลิศ ร้อยละ95 ของทารกที่เกิดมาจะมีสุขภาพที่ดี ประมวลและสังเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ:กรณีอนามัยแม่และเด็ก:วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกับกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ๒๕๕๔

  20. คุณค่าอาหารเป็นเรื่องสำคัญที่จะต้องคำนึงถึงอยู่เสมอในการเลือกชนิดของอาหารกินในแต่ละมื้อ อาหารที่ทรงคุณค่าคืออาหารที่อุดมด้วยสารอาหารที่ทารกในครรภ์ต้องการและไม่ทำให้น้ำหนักตัวของคุณเพิ่มมากเกินไป ไม่ว่าคุณจะต้องการให้น้ำหนักเพิ่มมากหรือเพิ่มน้อยอย่างไรคุณสามารถทำได้ด้วยการกำหนดชนิดและประเภทอาหารที่จะกิน ประมวลและสังเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ:กรณีอนามัยแม่และเด็ก:วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกับกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ๒๕๕๔

  21. ประเภทวิตามินก็มีประโยชน์ต่อหญิงตั้งครรภ์ที่คุณต้องการเพิ่มคือธาตุเหล็กโฟลิคแอสิด แคลเซียม และวิตามินรวมมีการวิจัยพบว่าสุขภาพของแม่ที่ได้รับวิตามินเสริมขณะตั้งครรภ์ดีกว่าคนที่ไม่ได้ ประมวลและสังเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ:กรณีอนามัยแม่และเด็ก:วิทยาลัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกับกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ๒๕๕๔

  22. การคลอดก่อนกำหนด

  23. สาเหตุการคลอดก่อนกำหนดสาเหตุการคลอดก่อนกำหนด สาเหตุการคลอดก่อนกำหนด 1. แสดงอาการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด (Indicated pretem deliveries) พบ ร้อยละ20-30ของการคลอดก่อนกำหนด 2. ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์ที่การตั้งครรภ์ยังไม่ครบกำหนด(Preterm premature ruptureof membranes) 3.ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด(preterm labor ) ภาวะข้อ2และ3 พบร้อยละ70-80ของการคลอดก่อนกำหนด

  24. กรอบแนวคิด ชุมชน/อาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โรงพยาบาลชุมชน

  25. การป้องกันการคลอดก่อนกำหนดการป้องกันการคลอดก่อนกำหนด กลุ่มเป้าหมาย 1.การให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และประชาชนทั่วไปในการดูแลตนเอง 2. ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนดและการดูแลตนเองที่ถูกต้อง 3.สามารถทราบอาการเบื้องต้นของการคลอดก่อนกำหนดและ มารพ.เพื่อให้การดูแล

  26. การป้องกันการคลอดก่อนกำหนดการป้องกันการคลอดก่อนกำหนด • แบ่ง 3 ระดับ • การป้องกันระดับปฐมภูมิ 1.การปฏิบัติเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนดในสตรีตั้งครรภ์ทุกราย 2.การคัดกรองความเสี่ยงของการเกิดภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด 3.ส่งเสริมให้สตรีตั้งครรภ์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง 4.การเฝ้าระวังอาการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด

  27. การป้องกันระดับทุติยภูมิการป้องกันระดับทุติยภูมิ 1.คลินิกครรภ์เสี่ยงที่มีคุณภาพ 2.การคัดกรองความเสี่ยงของการเกิดภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด 3.การยับยั้งการคลอดก่อนกำหนดที่มีประสิทธิภาพ

  28. การป้องกันระดับตติยภูมิการป้องกันระดับตติยภูมิ 1.คลินิกครรภ์เสี่ยงที่มีคุณภาพ 2.การยับยั้งการคลอดก่อนกำหนดที่มีประสิทธิภาพ 3.ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนในทารกเกิดก่อนกำหนด

  29. แสดงเส้นทางสู่การคลอดครบกำหนดแสดงเส้นทางสู่การคลอดครบกำหนด หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ บริการฝากครรภ์ ๑.ตรวจครรภ์ ๒.ตัวสุขภาพฟัน ๓.ตรวจสุขภาพทารกในครรภ์ ๔.โรงเรียนพ่อแม่ ๕.คัดกรองกลุ่มเสี่ยง ๖.ให้คำแนะนำด้านโภชนาการ ฝากครรภ์กลุ่มปกติ ให้รับบริการฝากครรภ์ตามแพทย์นัด ฝากครรภ์กลุ่มเสี่ยงให้รับบริการฝากครรภ์ ๑. ให้คำแนะนำกลุ่มเสี่ยง ๒. สังเกตมดลูกหดรัดตัว ๓. ตรวจคัดกรองทารกในครรภ์ ๔.ส่งต่อผู้คลอดมาที่โรงพยาบาลแม่โซน หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดอายุครรภ์ ๒๔-๓๗ สัปดาห์ ตรวจการหดรัดตัวของมดลูก มีการหดรัดตัวของมดลูกจริง - ส่งห้องดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนก่อนคลอด ไม่มีการหดรัดตัวของมดลูกจริง -ให้คำแนะนำและส่งฝากครรภ์ต่อโรงพยาบาลในเครือข่าย

  30. Flowchart Preterm Care Map โรงพยาบาลอุดรธานี รพช./รพท.อื่นๆ ห้องฝากครรภ์ รพ.อุดรธานี PCU ในอำเภอเมือง 33 แห่ง ห้องคลอด รพ.อุดรธานี ปากมดลูก เปิด < 3cm. ปากมดลูก เปิด > 3cm. 1.ให้คลอด 2. Dexamethazone ใน GA < 34 wks 3. ATB, GBS prophylaxis 4. จองเตียงใน NICU 5. แจ้งกุมารแพทย์ GA 28-34 wks GA >34 wks 1. Dexamethazone 2. Care map Preterm 3. หาสาเหตุ 4. Expectant Rx 5. Unit Preterm 1. Care map Preterm 2. หาสาเหตุ 3. Expectant Rx 4. Unit preterm การดูแลหลังคลอด 1.เตรียมความพร้อมของผู้ดูแล 2.การส่งต่อเยี่ยมบ้าน ยับยั้งสำเร็จ ยับยั้งไม่สำเร็จ ฝากครรภ์ต่อ (รพช./รพศ.)

  31. แบบคัดกรอง แบบประเมินความเสี่ยงต่อการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดของสตรีตั้งครรภ์ (ช่วงอายุครรภ์ 16-18 สัปดาห์) แบบประเมินความเสี่ยงต่อการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดของสตรีตั้งครรภ์ (ช่วงอายุครรภ์ 24 - 26 สัปดาห์)

  32. การคัดกรองกลุ่มเสี่ยงทารกคลอดก่อนกำหนด (Primary prevention)

  33. พัฒนาระบบการส่งต่อกลุ่มโซน จังหวัดอุดรธานี หนองคาย N นายูง อ.ท่าบ่อ สร้างคอม บ้านดุง น้ำโสม เพ็ญ (แม่โซน) เลย บ้านผือ (แม่โซน) ทุ่งฝน พิบูลย์รักษ์ กุดจับ หนองหาน (แม่โซน) เมือง (รพศ.) สกลนคร หนองวัวซอ หนองบัวลำภู กู่แก้ว ไชยวาน ประจักษ์ กุมภวาปี ( แม่โซน) หนองแสง โซน1 วังสามหมอ ศรีธาตุ โซน2 โนนสะอาด โซน3 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น โซน4

  34. คู่มือการดำเนินงาน คู่มือ อสม. คู่มือสำหรับเจ้าหน้าที่

  35. โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นโครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น

More Related