1 / 32

อนันต์ ดา โลดม นายกสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย ในวันพุธที่ 15 สิงหาคม 2555

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC ) ที่มีผลกระทบกับภาคการเกษตรของไทย. อนันต์ ดา โลดม นายกสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย ในวันพุธที่ 15 สิงหาคม 2555 ณ ห้วยป่าปกรี สอร์ท ตำบลบ้านไร่ อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community : AEC ). อาเซียน ( ASEAN ).

Download Presentation

อนันต์ ดา โลดม นายกสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย ในวันพุธที่ 15 สิงหาคม 2555

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ที่มีผลกระทบกับภาคการเกษตรของไทย อนันต์ ดาโลดม นายกสมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย ในวันพุธที่ 15 สิงหาคม 2555 ณ ห้วยป่าปกรีสอร์ท ตำบลบ้านไร่ อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี

  2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC)

  3. อาเซียน (ASEAN) • ก่อตั้งเมื่อปี 2510 (1967) ครบรอบ 44 ปี (เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2554) • จุดประสงค์เริ่มแรก – สร้างความมั่นคง เพื่อต้านภัยคุกคามคอมมิวนิสต์ สมาชิก และปีที่เข้าเป็นสมาชิก อาเซียน 6 สมาชิกใหม่ CLMV ปี 2540 ปี 2540 ปี 2510 ปี 2510 ปี 2538 ปี 2542 ปี 2527 ปี 2510 ปี 2510 ปี 2510

  4. วัตถุประสงค์ • ส่งเสริมความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างประเทศใน ภูมิภาค • ธำรงไว้ซึ่งสันติภาพ เสถียรภาพ และความมั่นคง ทางการเมือง • สร้างสรรค์ความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ • การพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม • การกินดีอยู่ดีบนพื้นฐานของความเสมอภาคและ ผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก

  5. ASEAN : Fact & Figures10 ประเทศสมาชิก • ประชากร599.5 ล้านคน (2010) • สัญลักษณ์: ต้นข้าวสีเหลือง 10 ต้นมัดรวมกัน สีน้ำเงิน สันติภาพและความมั่นคง สีแดง ความกล้าหาญและก้าวหน้า สีเหลือง ความเจริญรุ่งเรือง ความบริสุทธิ์ วงกลม แสดงถึงความเป็นเอกภาพ • กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)

  6. ความสำคัญของอาเซียน ที่มา : ASEAN Secretariat, ปี 2010

  7. ศักยภาพของไทยในอาเซียนศักยภาพของไทยในอาเซียน ที่มา : สำนักเลขาธิการอาเซียน, ปี 2010

  8. ศักยภาพของไทยในอาเซียน (ต่อ) ที่มา : สำนักเลขาธิการอาเซียน, ปี 2010

  9. ตลาดส่งออกหลักของไทย ปี 2535 กับปี 2553 ปี 2535 ปี 2553 USA 10.9% USA 22.4% Other 25.5% Other 33.6% EU 11.9% จีน 1.2% EU 19.6% ญี่ปุ่น 10.3% จีน 10.6% ญี่ปุ่น 17.5% อาเซียน 13.8% อาเซียน 22.7% • ส่งออกรวม 32,609.1 ล้านเหรียญสหรัฐ • ส่งออกรวม 195,311.6 ล้านเหรียญสหรัฐ • Note • AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) • ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 ม.ค. 2553 (2010)

  10. แหล่งนำเข้าหลักของไทย ปี 2535 กับปี 2553 ปี 2535 ปี 2553 USA 10.9% USA 22.4% ญี่ปุ่น 18.7% Other 25.5% Other 33.6% ญี่ปุ่น 29.3% จีน 1.2% อื่นๆ 28.0% อื่นๆ 36.6% EU 9.1% EU 19.6% จีน 3.0% EU 14.4% USA 6.3% ญี่ปุ่น 17.5% จีน 12.7% USA 11.7% อาเซียน 13.6% อาเซียน 16.6% • นำเข้ารวม 40,615.8 ล้านเหรียญสหรัฐ • นำเข้ารวม 182,406.54 ล้านเหรียญสหรัฐ • Note • AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) • ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 ม.ค. 2553 (2010)

  11. ประชาคมอาเซียน (ASEANCommunity)2015 (2558)

  12. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียนASEAN Political and Security Community (APSC) แนวคิดหลัก :“ส่งเสริมสันติภาพ เสถียรภาพ ประชาธิปไตย และความมั่นคงในภูมิภาค” ยุทธศาสตร์สำคัญ 5 ด้าน • พัฒนาการทางด้านการเมือง • การเสริมสร้างบรรทัดฐานที่จะมีร่วมกัน • การเสริมสร้างความเชื่อใจของประเทศสมาชิก • การแก้ไขปัญหาภายในโดยสันติ • การสร้างสันติภาพและการป้องกันข้อพิพาท

  13. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนASEAN Socio-Cultural Community (ASCC) จุดมุ่งหมาย • การสร้างประชาคมแห่งสังคมเอื้ออาทรและแบ่งปัน • แก้ไขผลกระทบต่อสังคมอันเนื่องมาจากการรวมตัวทาง เศรษฐกิจ • ส่งเสริมความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมและการจัดการดูแลอย่างถูกต้อง • ส่งเสริมความเข้าใจระหว่างประชาชนในระดับรากหญ้า การเรียนรู้ และรับรู้ข่าวสาร

  14. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนASEAN Economic Community (AEC) Single market (ตลาดร่วมอาเซียน) แนวคิดที่จะให้มีการไหลเวียนที่มีความเสรีมากขึ้น สำหรับเงินทุน • อาเซียนมิอาจตั้งเป้าหมายให้เงินทุนไหลเวียนได้เสรี 100% จึงตั้งให้การไหลเวียนมีความเสรีมากขึ้นเท่านั้น การไหลเวียนเสรีสำหรับแรงงานฝีมือ • ขณะนี้ Blueprint ได้แต่เพียงตั้งเป้าหมายเปิดเสรีเฉพาะแรงงานฝีมือเท่านั้น ยังไม่อาจเปิดเสรี 100% ได้

  15. สิ่งที่จะเกิดขึ้นใน AEC ปี 2558 สินค้า ภาษีนำเข้าเป็นศูนย์/อุปสรรคนำเข้า ระหว่างอาเซียนด้วยกันหมดไป ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง บริการ ทำธุรกิจบริการในอาเซียนได้อย่างเสรี การลงทุน การลงทุนในอาเซียนทำได้อย่างเสรี แรงงานฝีมือ การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี เงินทุน การเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรียิ่งขึ้น

  16. แผนงานสำคัญใน AEC BlueprintGDP = US$ billion 1,865 (2010) = 2.97% of global GDP A C D B ตลาดเดียว/ ฐานการผลิตเดียว ขีดความสามารถ การแข่งขันสูง พัฒนาเศรษฐกิจอย่างสม่ำเสมอ บูรณาการกับเศรษฐกิจโลก • เปิดเสรีการค้าสินค้า (AFTA) • เปิดเสรีการค้าบริการ (AFAS) • เปิดเสรีการลงทุน (AIA) • เคลื่อนย้ายเงินลงทุนระหว่างกันได้ดีขึ้น • เปิดเสรีการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือ • รวมกลุ่มสาขาสำคัญ (Priority sector) • นโยบายการแข่งขัน • การคุ้มครองผู้บริโภค • การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน • ภาษีอากร • การพัฒนา SMEs • แผนงานการริเริ่มการรวมตัวอาเซียน • (Initiative for ASEAN Integration : IAI) • ความเป็นหนึ่งเดียวในการตอบสนองต่อเศรษฐกิจภายนอก • การมีส่วนร่วมในเครือข่ายอุปทานโลก

  17. เป้าหมายประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป้าหมายประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

  18. “ภาคบริการ” VS“การลงทุน” ในความตกลงการค้าเสรี: ธุรกิจอะไรคือ “ภาคบริการ” อะไรคือ “การลงทุน”? ภาคที่ไม่ใช่บริการ = ลงทุน การเกษตร การประมง ป่าไม้ เหมืองแร่ ภาคการผลิต (อุตสาหกรรม) + ธุรกิจบริการที่เกี่ยวเนื่องกับ 5 สาขา ภาคบริการ • บริการด้านธุรกิจ/ วิชาชีพ (แพทย์ วิศวกร ทนายความ นักบัญชี ฯลฯ) • บริการด้านสื่อสาร/ โทรคมนาคม • บริการด้านการก่อสร้าง • บริการด้านการจัดจำหน่าย • บริการด้านการศึกษา • บริการด้านสิ่งแวดล้อม • บริการด้านการเงิน • บริการด้านสุขภาพ • บริการด้านการท่องเที่ยว • บริการด้านนันทนาการ • บริการด้านการขนส่ง • บริการอื่นๆ

  19. การเปิดเสรีการค้าสินค้าการเปิดเสรีการค้าสินค้า เคลื่อนย้ายสินค้าได้อย่างเสรี • ลดภาษีนำเข้าเป็นลำดับตั้งแต่ปี 2536 1 ม.ค. 2553 (2010) อาเซียน-6ลดภาษีนำเข้าสินค้าจากอาเซียน เป็นศูนย์ 1 ม.ค. 2558 (2015) CLMVลดภาษีนำเข้าสินค้าจากอาเซียน เป็นศูนย์ ยกเว้น สินค้าอ่อนไหว(Sensitive List) ภาษีไม่ต้องเป็น 0% แต่ต้องไม่เกิน 5% และ สินค้าในรายการอ่อนไหวสูง (High Sensitive List) ให้กำหนดภาษีได้เป็นพิเศษ แต่ต้องลดลงในระดับที่สมาชิกยอมรับได้ สินค้าอ่อนไหวสูง : ข้าว และน้ำตาล ประเทศที่ขอไว้ : อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์

  20. สินค้าในรายการอ่อนไหวสูง (High Sensitive List) ให้กำหนดภาษีได้เป็นพิเศษ แต่ต้องลดลงในระดับที่สมาชิกยอมรับได้ สินค้า : ข้าว และน้ำตาล ประเทศที่ขอไว้ : อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไทยได้ชดเชย เป็นการนำเข้าขั้นต่ำ ปีละประมาณ 5.5 แสนตัน มาเลเซีย ข้าว เป็น 20% ปี 2010 อินโดนีเซีย ข้าว25% ภายในปี 2015 น้ำตาล จาก 40% เป็น 5-10% ปี 2015 ฟิลิปปินส์ น้ำตาล คงอัตรา 38% ถึงปี 2011 และลดตามลำดับเป็น 5% ปี 2015 ข้าว คงอัตรา 40% ถึงปี 2014 และลดเป็น 35% ปี 2015 ไทยได้ชดเชย โดยฟิลิปปินส์ตกลงจะซื้อข้าวจากไทย อย่างต่ำปีละ 3.67 แสนตัน

  21. โอกาสและผลกระทบจาก AEC

  22. ผลกระทบจากการเปิดตลาดผลกระทบจากการเปิดตลาด ผลกระทบเชิงบวก ภาษีนำเข้าเป็น 0% มาตรการนำเข้าลดลง นำเข้าวัตถุดิบ สินค้ากึ่งสำเร็จรูปจากแหล่งผลิต ใน AEC ที่มีความได้เปรียบด้าน ราคา/คุณภาพ ตลาด 10 ประเทศ รวมเป็นตลาดเดียว ตลาดใหญ่ขึ้น :economy of scale การลงทุนในอาเซียน ทำได้โดยเสรี สามารถย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศ ที่เหมาะเป็นแหล่งผลิต เป็นฐานการผลิตร่วม ใช้ CLMV เป็นฐานการส่งออกไปนอก AEC เพื่อใช้ประโยชน์จากสถานะ Least Developed Countries LDCs

  23. ผลกระทบจากการเปิดตลาดผลกระทบจากการเปิดตลาด ผลกระทบเชิงบวก ความร่วมมือด้านการอำนวย ความสะดวกทางการค้า ระบบโลจิสติกส์ในภูมิภาค สะดวกและถูกลง ทำธุรกิจบริการได้โดยเสรี ฐานธุรกิจอยู่ที่ใดก็ได้ในอาเซียน แก้ปัญหาขาดแคลนแรงงานฝีมือ FTA อาเซียนกับคู่ค้าต่างๆ ASEAN +1, +3, +6 มีความได้เปรียบทางภาษีนำเข้า กว่าคู่แข่งอื่นนอกอาเซียน

  24. ผลกระทบจากการเปิดตลาดผลกระทบจากการเปิดตลาด ผลกระทบเชิงลบ ภาษีนำเข้าเป็น 0% มาตรการนำเข้าลดลง เกิดคู่แข่งใหม่จากอาเซียน ตลาด 10 ประเทศ รวมเป็นตลาดเดียว ต้นทุนของคู่แข่งอาจต่ำลง การลงทุน/ ทำธุรกิจบริการ ในอาเซียน ทำได้โดยเสรี คู่แข่งจะเข้ามาแข่งถึงในเขตแดนเราอาจถูกแย่งแรงงานฝีมือ เป็นฐานการผลิตร่วม บริษัทที่อยู่ในอุตสาหกรรมรองรับ หรือ เคยผลิตส่งบริษัทแม่ อาจถูกแย่งลูกค้า โดยแข่งในประเทศอื่นที่ได้เปรียบกว่าในการเป็นฐานการผลิต

  25. สินค้าที่ไทยได้เปรียบ/ เสียเปรียบ สินค้าที่ไทยได้เปรียบ สินค้าเกษตรและอุปโภคบริโภค เช่น ข้าว ธัญพืช น้ำตาลทราย ผลไม้สด อาหารสำเร็จรูป (อาหาร กระป๋อง) เครื่องปรุงรส สินค้าอุตสาหกรรม เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ รถยนต์และชิ้นส่วน สินค้าที่ไทยเสียเปรียบ สินค้าที่มีข้อกังวลว่าจะได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าในอาเซียน เช่น น้ำมันปาล์ม (มาเลเซีย) เมล็ดกาแฟ (เวียดนาม) มะพร้าว (ฟิลิปปินส์) และชา (อินโดนีเซีย)

  26. AEC โอกาส (Opportunities) & ภัยคุกคาม (Threats) สำหรับเกษตรกรไทย ภาษีนำเข้า เป็นศูนย์หรือลดลง ตลาดอาเซียน มีความต้องการมากขึ้น สำหรับสินค้าเกษตรไทย ที่มีคุณภาพ สินค้าเกษตรจากอาเซียนที่คุณภาพดีกว่า/ราคาถูกจะเข้ามาแข่งขันและแย่งตลาด หากเกษตรกรไทยไม่เตรียมรับมือ อุปสรรคนำเข้า สินค้าเกษตรหมดไป > ไทยส่งออกสินค้าเกษตรได้ มากขึ้น > เกษตรกรมีรายได้มากขึ้น

  27. สิทธิประโยชน์ที่เกษตรกรพึงได้สิทธิประโยชน์ที่เกษตรกรพึงได้ จากการเปิดเสรีทางการค้า (FTAs) • แก้ไขปัญหาราคาสินค้าเกษตรตกต่ำ และล้นตลาด - ตลาดขยายใหญ่ขึ้น - สามารถกระจายสินค้าสู่ประเทศภาคีสะดวก ไม่มีภาษี/ภาษีต่ำ • เกษตรกรมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น - รายได้เพิ่มจากขายสินค้าเพิ่มขึ้น - ต้นทุนต่ำลง > เปิดเสรี นำเข้าเครื่องมืออุปกรณ์ ปัจจัยการผลิตเข้าสู่ประเทศหลากหลาย มีให้เลือก ราคาต่ำลง • เกิดการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต จากการแลกเปลี่ยนความรู้และเทคโนโลยีการผลิตระหว่างกัน • ผู้ประกอบการ (ผู้ใช้สินค้าเกษตรเป็นวัตถุดิบ) ขยายการผลิต ส่งผลทางอ้อมต่อเกษตรกรให้ขายผลผลิตได้เพิ่มขึ้น

  28. แนวทางการปรับตัวรองรับการเปิดเสรี (เกษตรกรและผู้ประกอบการต่อเนื่อง) • ลดต้นทุนการผลิต โดยเฉพาะเกษตรกรรายย่อย รวมกลุ่มเพื่อลดต้นทุนการผลิตให้แข่งขันได้ • ปรับปรุงมาตรฐานสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานตรงตามตลาดต่างประเทศต้องการ • พัฒนาและกำหนดมาตรฐานทางการค้าของไทย - มาตรฐานสุขอนามัย มาตรฐานเฉพาะสินค้า ระบบการตรวจสอบและสิ่งแวดล้อมให้เป็นมาตรฐานสากล ส่งออกต่างประเทศ ไม่ประสบปัญหาข้อกีดกัน ควบคู่กับรองรับสินค้าที่เข้ามา ต้องได้มาตรฐานตามกำหนดเป็นการคุ้มครองผู้ผลิตในประเทศ • ส่งเสริมอุตสาหกรรมเกษตรต่อเนื่อง เพื่อรองรับ • ผู้ประกอบการขยายฐานการผลิตออกสู่ประเทศเพื่อนบ้าน

  29. การปรับตัวและการช่วยเหลือของภาครัฐการปรับตัวและการช่วยเหลือของภาครัฐ • ให้ความรู้ความเข้าใจต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • แก้ไขกฎหมาย กฎระเบียบให้สามารถแข่งขันได้ • ใช้มาตรการคุ้มครองเกษตรกรในประเทศ และมาตรการตอบโต้ทางการค้าระหว่างประเทศ ในกรณีจำเป็น • ช่วยเหลือบรรเทาผลกระทบที่เกิดจากการเปิดเสรีผ่านกองทุน FTA - ด้านการผลิต : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคการเกษตรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย) - ด้านการตลาด : กระทรวงพาณิชย์ โดยกรมการค้าต่างประเทศ เจ้าภาพ (กองทุนเพื่อการปรับตัวของภาคการผลิต และบริการที่ได้รับผลกระทบ จากการเปิดเสรีทางการค้า)

  30. เร่งปรับตัว • หากไม่เร่งปรับตัวในวันนี้ โอกาสที่คาดว่าจะเกิดขึ้นอาจกลายเป็น วิกฤติที่คาดไม่ถึง • ศึกษาข้อมูลพันธกรณีในกรอบต่างๆ ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ • ติดตามข่าวสารความเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจอย่างใกล้ชิด (รู้รอบรู้ทัน) • ปรับเปลี่ยนทัศนคติจากเชิงรับ เป็น เชิงรุก (ใช้โอกาสที่เปิดกว้างมาก ขึ้น) • รู้เขา รู้เรา (สร้างความแตกต่างให้กับสินค้า/บริการจากจุดแข็งที่มีอยู่) • เข้าใจประเด็นเทคนิค (แหล่งกำเนิดสินค้า การคำนวณต้นทุน ฯลฯ) • ธุรกิจจะแข่งขันกันที่ความคิดสร้างสรรค์ คุณภาพ/มาตรฐาน และการ ให้บริการที่จะผูกมัดใจลูกค้าของเรา

  31. สิ่งท้าทายต่ออาเซียน • มีทั้งที่เกิดจากภายในอาเซียนเอง และจากภายนอก • ภายใน กระบวนการ integration ช้ามาก ช่องว่างใน การพัฒนาของสมาชิกยังกว้างมาก ไม่มีกลไกในการ บังคับสมาชิกให้ปฏิบัติตามข้อตกลงกระบวนการ ตัดสินใจใช้แต่ฉันทามติ • ภายนอก โลกาภิวัตน์ การแข่งขันทางเศรษฐกิจรุนแรง ภูมิภาคต่างๆ พึ่งพากันมากขึ้น

  32. ขอบคุณครับ

More Related