1 / 97

แนวปฏิบัติในการสอบแอดมิชชั่น และการเตรียมความพร้อมสอบ GAT/PAT

วันที่ 13 มกราคม 2555 ณ หอประชุมทีปังกรรัศมีโชติ มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ. รศ. ดร. สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ ผู้อำนวยการสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). แนวปฏิบัติในการสอบแอดมิชชั่น และการเตรียมความพร้อมสอบ GAT/PAT. วิสัยทัศน์.

naif
Download Presentation

แนวปฏิบัติในการสอบแอดมิชชั่น และการเตรียมความพร้อมสอบ GAT/PAT

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วันที่ 13 มกราคม 2555 ณ หอประชุมทีปังกรรัศมีโชติ มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ รศ. ดร. สัมพันธ์ พันธุ์พฤกษ์ ผู้อำนวยการสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) แนวปฏิบัติในการสอบแอดมิชชั่น และการเตรียมความพร้อมสอบ GAT/PAT

  2. วิสัยทัศน์ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) เป็นสถาบันทางวิชาการ และวิชาชีพ และเป็นแหล่งอ้างอิงระดับชาติและ นานาชาติที่เชี่ยวชาญด้านการทดสอบ และการประเมินผลทางการศึกษา เพื่อให้คนไทยมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาในทุกระดับและ ทุกประเภทการศึกษาสู่ระดับสากล

  3. ค่านิยม สทศ.

  4. อำนาจหน้าที่หลักของ สทศ.(พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สทศ. พ.ศ.2548 มาตรา 8) 1. จัดทำระบบ วิธีการทดสอบและพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลตาม มาตรฐานการศึกษา (ขั้นพื้นฐาน ด้านการอาชีวศึกษา ระดับอุดมศึกษา) • ประเมินผลการจัดการศึกษาและการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติและ • ให้ความร่วมมือ สนับสนุน การทดสอบ ทั้งระดับเขตพื้นที่การศึกษาและ • สถานศึกษา 3. บริการสอบวัดความรู้ความสามารถ การสอบวัดมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ เพื่อนำผลไปใช้ในการเทียบระดับและการเทียบโอนผล การเรียนที่มาจาก การศึกษาในระบบเดียวกันหรือ การศึกษาต่างระบบ samphan@niets.or.th

  5. อำนาจหน้าที่หลักของ สทศ. (ต่อ)(พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สทศ. พ.ศ.2548 มาตรา 8) 5. เป็นศูนย์กลางข้อมูลการทดสอบทางการศึกษา ตลอดจนสนับสนุน และให้บริการ ผลการทดสอบแก่หน่วยงานต่าง ๆ ได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ • ศึกษาวิจัยและเผยแพร่นวัตกรรมเกี่ยวกับการทดสอบทางการศึกษา ตลอดจนเผยแพร่เทคนิคการวัดและ ประเมินผลการศึกษา samphan@niets.or.th

  6. อำนาจหน้าที่หลักของ สทศ. (ต่อ)(พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง สทศ. พ.ศ.2548 มาตรา 8) • เป็นศูนย์กลางความร่วมมือด้านการทดสอบทางการศึกษา ทั้งในระดับประเทศ และระดับนานาชาติ • พัฒนาและส่งเสริมวิชาการด้านการทดสอบและประเมินผลทางการศึกษา รวมถึงพัฒนาบุคลากรด้านการทดสอบและประเมินผล ด้านการติดตามและประเมินผลคุณภาพบัณฑิต รวมทั้งการให้การรับรองมาตรฐานของระบบ วิธีการ เครื่องมือวัดของหน่วยงานการประเมินผลและทดสอบทางการศึกษา samphan@niets.or.th

  7. การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติของ สทศ. samphan@niets.or.th

  8. ระบบการผลิตและพัฒนาข้อสอบระบบการผลิตและพัฒนาข้อสอบ samphan@niets.or.th

  9. แนวปฏิบัติในการสอบ Admissions

  10. องค์ประกอบและค่าน้ำหนักในระบบ Admissions

  11. องค์ประกอบและค่าน้ำหนักในแต่ละสาขาองค์ประกอบและค่าน้ำหนักในแต่ละสาขา

  12. องค์ประกอบและค่าน้ำหนักในแต่ละสาขาองค์ประกอบและค่าน้ำหนักในแต่ละสาขา

  13. GPAX หมายถึง เกรดเฉลี่ยจากผลการเรียนตลอดหกเทอม (ม.4 ถึงม.6) ของนักเรียนทางโรงเรียนจะจัดส่ง GPAX ของนักเรียนทุกคนไปยัง สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา นักเรียนจึงควรตรวจสอบค่า GPAX ของตนเองและถ้ามีข้อผิดพลาดจะได้ขอให้ทางโรงเรียนแก้ไข ก่อนที่จะมีการจัดส่ง

  14. การสอบ O-NET Ordinary National Education Test การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2554

  15. O-NET ปีการศึกษา 2554 • วัดตามมาตรฐานและตัวชี้วัด ที่เป็นจุดเน้นของ สพฐ. ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา และจุดเน้นของ สพฐ. (สพฐ.จัดทำและส่งให้ สทศ.เมื่อเดือนมีนาคม 2554) • จัดทำผังการออกข้อสอบ (Test Blueprint) ที่ให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง (ผู้แทนจาก สพฐ. ผู้บริหารสถานศึกษา ครู ศึกษานิเทศก์คณาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิ) มีส่วนร่วมพิจารณา

  16. O-NET ปีการศึกษา 2554 ให้ครูที่สังกัด สพฐ. (สพฐ. ส่งรายชื่อครูที่มีคุณสมบัติตามที่ สทศ. กำหนด เสนอให้สทศ. พิจารณา) มีส่วนร่วมในการออกข้อสอบ พัฒนามาตรฐานของการทดสอบ (Standards of Testing) ให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น จัดทำคลังข้อสอบ (Item Bank) จัดตั้ง Examination Board

  17. การสอบ O-NET ปีการศึกษา 2554 รายวิชาที่สอบ และวัน เวลา สอบ ข้สอบทุกช่วงชั้น มีจำนวน 10 ฉบับ ( 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้)

  18. จำนวนข้อสอบ O- NET มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554

  19. ผังการออกข้อสอบ (Test Blueprint) O- NET มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554

  20. ตารางสอบ O- NET มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554

  21. รูปแบบ และตัวอย่างข้อสอบ O- NET มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554 1. ข้อสอบแบบปรนัย แบบเลือกตอบ โดยเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียง 1 คำตอบ ( 5 ตัวเลือก) 2. ข้อสอบปรนัยแบบเติมคำตอบหรืออื่นๆ (ไม่เกินร้อยละ 20 ของคะแนนเต็ม)

  22. 1. แบบปรนัย 1.1 เลือกตอบ4 ตัวเลือก เลือก 1 คำตอบที่ถูกที่สุด (4ตัวเลือก 1คำตอบ) 1.1) แบบ 4 ตัวเลือก

  23. 1. แบบปรนัย 1.1 เลือกตอบ4 ตัวเลือก เลือก 2 คำตอบที่ถูกที่สุด (4ตัวเลือก 2 คำตอบ) ใ

  24. 1. แบบปรนัย 1.3 เลือกตอบ5 ตัวเลือก เลือก 1 คำตอบที่ถูกที่สุด (5ตัวเลือก 1 คำตอบ)

  25. 1. แบบปรนัย 1.4 เลือกตอบ5 ตัวเลือก เลือก 2 คำตอบที่ถูกที่สุด (5ตัวเลือก 2 คำตอบ)

  26. 2. แบบปรนัยหลายตัวเลือก มากกว่า 1 คำตอบ

  27. 2. แบบปรนัยหลายตัวเลือก มากกว่า 1 คำตอบ (ต่อ)

  28. 3. แบบเลือกตอบจากแต่ละหมวดที่สัมพันธ์กัน

  29. 4. แบบระบายคำตอบที่เป็นค่า/ ตัวเลข

  30. ข้อปฏิบัติในการสอบ O-NET ปีการศึกษา 2554 1. ระเบียบการเข้าห้องสอบ 1) ไม่มีเลขที่นั่งสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ 2) ไม่มีบัตรแสดงตนไม่มีสิทธิ์สอบ 3) ไปผิดสนามสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ 4) ไปสายเกิน 30 นาที ไม่มีสิทธิ์สอบในวิชานั้น 5)ห้ามนำเครื่องมืออุปกรณ์สื่อสารเข้าห้องสอบ 6) ให้นั่งสอบจนหมดเวลา 7) อนุญาต ให้นำนาฬิกาเข้าห้องสอบ (ต้องเป็นนาฬิกาธรรมดาที่ใช้ดูเวลาเท่านั้น)

  31. ข้อปฏิบัติในการสอบ O-NET ปีการศึกษา 2554 2.อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำข้อสอบ 1. ปากกา ใช้สำหรับกรอกรายละเอียดต่าง ๆ บนหัวกระดาษคำตอบ 2. ดินสอดำ 2B ใช้สำหรับระบายรหัสวิชา เลขที่นั่งสอบ และคำตอบที่ต้องการเลือก 3. ยางลบ 4. กบเหลาดินสอ 3.หลักฐานที่ใช้ในการเข้าห้องสอบ บัตรประจำตัวนักเรียนที่มีรูปบัตรประชาชน หรือ หลักฐานอย่างอื่นที่สามารถใช้แสดงตัวตนของนักเรียน

  32. ตัวอย่างผลการสอบ O-NET รายบุคคล (ระดับนักเรียน)

  33. การสอบ GAT/PAT

  34. การสอบ GAT / PAT GAT / PAT คืออะไร GAT หรือ General Aptitude Test คือ การสอบวัดความถนัดทั่วไป PAT หรือ Professional and Academic Aptitude Test คือ การสอบวัดความถนัดทางวิชาการและวิชาชีพ

  35. การสอบ GAT/PAT สอบ GAT/PAT เพื่ออะไร สทศ. จัดสอบ GAT/PAT เพื่อให้ผู้เข้าสอบสามารถนำผลการสอบไปใช้เป็นองค์ประกอบหนึ่งในการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา 1) ระบบรับกลาง หรือ Admissions กลาง 2) ระบบรับตรง (ขึ้นอยู่กับประกาศของแต่ละคณะและมหาวิทยาลัย)

  36. การสอบ GAT/PAT สอบ GAT/PAT เมื่อไร สทศ.จัดสอบ GAT/PAT ปีละ2 ครั้ง ในเดือนมีนาคม และตุลาคม ของทุกปี นักเรียนสามารถติดตามกำหนดการและรายละเอียดได้ทาง website ของสทศ. (www.niets.or.th) นักเรียนไม่จำเป็นต้องสมัครทุกวิชา ทุกครั้ง นักเรียนควรเลือกเฉพาะวิชาที่ต้องใช้ในการยื่นสมัคร Admissions กลาง หรือรับตรง และเลือกสมัครสอบในช่วงที่พร้อม

  37. GAT: General Aptitude Test สอบ 3 ชั่วโมง คะแนนเต็ม 300 คะแนน การวัดศักยภาพในการเรียนในมหาวิทยาลัยให้ประสบความสำเร็จ มี 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 คือ ความสามารถในการอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และ แก้ปัญหา คะแนนเต็ม 150 คะแนน เวลา 1 ½ ชั่วโมง ส่วนที่ 2 คือ ความสามารถในการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ (การพูด, คำศัพท์, โครงสร้างการเขียน และการอ่าน) คะแนนเต็ม 150 คะแนน เวลา 1 ½ ชั่วโมง

  38. PAT: Professional and Academic Aptitude Test สอบวิชาละ 3 ชั่วโมง คะแนนเต็ม 300 คะแนน มี 7 ประเภท PAT 1 คือ ความถนัดทางคณิตศาสตร์ PAT 2 คือ ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ PAT 3 คือ ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์ PAT 4 คือ ความถนัดทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ PAT 5 คือ ความถนัดทางวิชาชีพครู PAT 6 คือ ความถนัดทางศิลปกรรมศาสตร์ PAT 7 คือ ความถนัดในการเรียนภาษาต่างประเทศ PAT 7.1 ภาษาฝรั่งเศส PAT 7.4 ภาษาจีน PAT 7.2 ภาษาเยอรมัน PAT 7.5 ภาษาบาลี PAT 7.3 ภาษาญี่ปุ่น PAT 7.6 ภาษาอาหรับ

  39. รูปแบบ และจำนวนข้อสอบ GAT มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554

  40. รูปแบบ และจำนวนข้อสอบ GAT มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554

  41. รูปแบบ และจำนวนข้อสอบ GAT มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554

  42. รูปแบบ และจำนวนข้อสอบ GAT มัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2554

More Related