1 / 23

การศึกษาเวลา (Time Study)

การศึกษาเวลา (Time Study). คือการหาเวลาที่เป็นมาตรฐานในการทำงาน ใช้ในการวัดผลงานเป็นเวลาที่ทำงานได้ ผลของการศึกษาเวลาคือ เราได้ เวลามาตรฐาน Standard Time. การศึกษาเวลา (Time Study) การหาเวลามาตรฐานในการทำงานของคนงาน ที่ได้รับการฝึกมาดีแล้ว ทำงานในอัตราปรกติ ด้วยวิธีการที่กำหนดให้

kaycee
Download Presentation

การศึกษาเวลา (Time Study)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การศึกษาเวลา (Time Study) คือการหาเวลาที่เป็นมาตรฐานในการทำงาน ใช้ในการวัดผลงานเป็นเวลาที่ทำงานได้ ผลของการศึกษาเวลาคือ เราได้ เวลามาตรฐาน Standard Time

  2. การศึกษาเวลา (Time Study) การหาเวลามาตรฐานในการทำงานของคนงาน ที่ได้รับการฝึกมาดีแล้ว ทำงานในอัตราปรกติ ด้วยวิธีการที่กำหนดให้ เกี่ยวกับการวัดผลงาน / มีหน่วย Motion Study : การศึกษาวิธีทำงานและออกแบบวิธีที่ปรับปรุงแล้ว Time Standard : การที่คนงานหนึ่งๆสามารถทำงานนั้นๆได้ตามวิธีการที่ได้กำหนดให้ Expected Output (Pcs.) = Total TimeStd. Time / Pcs.

  3. Total Time Spent on Operation • เวลาล่าช้า • เวลาพัก • เวลาผลิตจริง Efficiency Efficiency = Actual Output Standard Output

  4. ประโยชน์ของการศึกษาเวลาประโยชน์ของการศึกษาเวลา • ประโยชน์ ของการศึกษาเวลา • เพื่อใช้หา กำหนดการและการวางแผน การทำงาน/การผลิต • ใช้หาค่าใช้จ่ายมาตรฐาน และช่วยประมาณงบใช้จ่าย • ใช้หาราคาของผลิตภัณฑ์ก่อนลงมือผลิต • ใช้หาประสิทธิภาพการทำงานของคน-เครื่องจักร • ใช้เวลาเป็นข้อมูลในการสมดุลสายการผลิต • หาเวลามาตรฐานที่ใช้เป็นตัวฐานในการจ่ายค่าตอบแทน • หาเวลามาตรฐานสำหรับใช้ในการควบคุมค่าแรง

  5. ประเภทของการศึกษาเวลาประเภทของการศึกษาเวลา • มี 4 วิธี • Direct Time Study • Working Sampling • Predetermined motion-time systems • Standard time data and formula

  6. ประเภทของวิธีการศึกษาเวลาประเภทของวิธีการศึกษาเวลา • 1) การศึกษาเวลาโดยตรง(Direct Time Study ) คือการศึกษาเวลาที่ใช้การจับเวลาพนักงานที่มีการเลือกไว้แล้ว มาทำการจับเวลา โดย นาฬิกา ทั้งนี้ต้องมีการคำนวณจำนวนครั้งในการจับเวลา แล้วจึงนำมาหาเวลาทำงานปกติ (Normal Time) เวลามาตรฐานต่อไป • 2) การสุ่มงาน (Sampling )เป็นการศึกษาเวลาเพื่อให้ได้เวลามาตรฐานจากการสุ่มจับเวลาการทำงานจริงของพนักงานในสายการผลิตๆ ต้องใช้เวลาในการศึกษาเวลาเป็นเวลานาน หลายสัปดาห์

  7. ประเภทของวิธีการศึกษาเวลาต่อประเภทของวิธีการศึกษาเวลาต่อ • 3) การศึกษาเวลา จากข้อมูลเวลามาตรฐานและสูตร (Standard Data and Formulas) เป็นการศึกษาเวลาที่ใช้ข้อมูลเวลาที่จัดทำเป็นมาตรฐานของโรงงานนั้น รวมทั้งการคำนวณหาเวลาจากสูตรสำเร็จ เช่น สูตรมาตรฐานในการคำนวณเวลางานกลึง สูตรที่โรงงานคิดขึ้นเอง เป็นต้น • 4) การศึกษาเวลาโดยระบบหาเวลาก่อนล่วงหน้า หรือการสังเคราะห์เวลา (Predetermined-Time System or Synthesis Time) เป็นการศึกษาเวลาเพื่อให้ได้เวลามาตรฐานจากการหาเวลาล่วงหน้าก่อนที่งานจะเกิดจริงหรือการสังเคราะห์เวลา โดยใช้ระบบการหาเวลาชนิดต่างเช่น ระบบ MTM ระบบ Work factor

  8. การศึกษาเวลาโดยตรง • คือ การศึกษาเพื่อหาเวลามาตรฐานที่ต้องการจากโดยการจับเวลาจากพนักงาน ที่ผ่านการคัดเลือก และ ฝึกเป็นอย่างดี ต้องเป็นพนักงานที่ทำงานนั้นๆ จริง โดยใช้สถานที่ปกติ สถานการณ์ที่ปกติ

  9. ขั้นตอนการศึกษาเวลาโดยตรงขั้นตอนการศึกษาเวลาโดยตรง • หาข้อมูลเบื้องต้นของการทำงานที่จะศึกษาเวลา • แบ่งงานเป็นงานย่อย และบันทึก • สังเกตและจับเวลาการทำงานของพนักงาน • หาจำนวนครั้งในการจับเวลา • หาอัตราสมรรถนะการทำงาน (Performance Rating) • หาเวลาการทำงานปกติ (Normal Time) • หาเวลาเผื่อการทำงาน (Allowances) • หาเวลามาตรฐานสำหรับการทำงานนั้น

  10. Direct Time Study • เป็นการจับเวลาด้วยเครื่องบันทึกเวลา และแผงบันทึกข้อมูล • กล้องถ่ายภาพ • เครื่องมือบันทึกเวลา • นาฬิกาจับเวลา , เข็ม / ตัวเลข • ก. 1 รอบ/ 1นาที • ข.1 รอบ/ 1ส่วน 100 ชม. 2. แผ่นรองเวลาบันทึกข้อมูล

  11. Observation Sheets 3.1 บันทึกรายละเอียดในการปฏิบัติงาน 3.2 บันทึกเวลา 3.3 สรุปการศึกษา 4. กล้องถ่ายภาพยนตร์ 5. เครื่องวัดรอบ 6. เครื่องคิดเลข

  12. การแบ่งงานเป็นงานย่อยการแบ่งงานเป็นงานย่อย • Dividing Operation into Element • งานย่อย Element คือ งานที่เป็นส่วนประกอบของการทำงานหนึ่งๆ ในรอบการทำงานหนึ่งๆ จะประกอบด้วยงานย่อยหลายๆงาน • รอบการทำงาน Work Cycle คือ การทำงานวนซ้ำกัน เมื่อทำงานตั้งแต่แรกและเมื่อสิ้นสุดการทำงานนั้นจะเริ่มทำงานใหม่ที่จุดเริ่มต้นเดิมซ้ำๆกันเป็นรอบๆ โดยมีจุดเริ่มต้นของการทำงานมาบรรจบกับจุดสิ้นสุดเป็นวงรอบ เสมอ การทำงานครบ 1 รอบมักจะได้ผลงานอย่างน้อย 1 งาน

  13. เกณฑ์ในการแบ่งงานย่อยเกณฑ์ในการแบ่งงานย่อย • แยก Constant Element ออกจาก Variable Element • Regular • Constant • Variable • Intermittent

  14. แบ่งการปฏิบัติงานออกเป็นงานย่อย (Elements ) • เพื่อความสะดวกในการจับเวลา • นิยาม : หน่วยย่อยของงาน ซึ่งเห็นได้ชัดเจนสามารถอธิบายและจับเวลาได้ เหตุผลที่ต้องแบ่งงานออกเป็นหน่วยย่อยของงาน • ทำให้เห็นความแตกต่างของ Regular Element และ Intermittent Element • ใช้หา Std. Time ของงานอื่นได้โดยไม่ต้องจับเวลาใหม่ • สะดวกเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงขั้นงาน • ชี้ให้เห็นถึงการเสียเวลาในการปฏิบัติงาน

  15. จ. สามารถหาอัตราเร็วที่แตกต่างกันในแต่ละรอบของการทำงานได้ ฉ. หาค่าเผื่อสำหรับความเครียดของงานย่อยๆได้ ช. การสลับเปลี่ยนงานในสายการผลิต เกณฑ์ในการแบ่งงานย่อย • > 0.04 นาที < 0.35 นาที • มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดที่แน่นอน / สัญญาณเสียง • แยกเวลาของเครื่องจักรกับคนงานออกจากกัน • แยกงานย่อยของคนระหว่างเครื่องจักรทำงานออกจากงานระหว่างเครื่องจักรหยุด

  16. ขั้นตอนของการศึกษาเวลาขั้นตอนของการศึกษาเวลา • ทำความเข้าใจกับคนงาน หัวหน้าคนงาน และศึกษารายละเอียดพร้อมบันทึก • แบ่งการปฏิบัติงานออกเป็นงานย่อย (Elements ) • สังเกต และบันทึกเวลาการทำงานของ คนงาน • หาจำนวนเที่ยวที่เหมาะสมในการจับเวลา • หาอัตราความเร็วของการทำงาน • ตรวจสอบว่าได้จับเวลาครบตามจำนวนรอบ • หา Allowances • หา Standard Time

  17. ทำความเข้าใจกับคนงาน หัวหน้าคนงาน และศึกษารายละเอียดพร้อมบันทึก • ก่อนการทำ Time Study ต้องมั่นใจว่างานนั้นๆพร้อมที่จะศึกษา • ก. วิธีที่ใช้อยู่เป็นวิธีที่ดีที่สุด • ข. ตำแหน่งของเครื่องมือเครื่องจักรอยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม • ค. วัตถุที่ใช้ทำงานเป็นไปตามคุณลักษณะที่ต้องการ • ง. สภาพการทำงานดี และปลอดภัย • จ. คุณภาพของชิ้นงานที่ผลิตเป็นไปตามต้องการ • ฉ. ความเร็วของเครื่องจักรเป็นไปตามที่ตั้งไว้ • ช. คนงานมีความชำนาญ

  18. การสังเกตและการบันทึกเวลาการสังเกตและการบันทึกเวลา • ทำได้ 2 วิธี • Continuous Timing การจับเวลาแบบติดต่อกันโดยไม่หยุด • Repetitive Timing or Snapback Timing การจับเวลาแบบเริ่มต้นที่ 0 ทุกครั้ง

More Related