1 / 89

สมุท ทานุภาพ MARITIME POWER

สมุท ทานุภาพ MARITIME POWER. นาวาเอก ปพน หาญไพบูลย์. รองผู้อำนวยการกองวิชาความมั่นคงและวิชาพิเศษ ฝ่ายวิชาการ. ความมุ่งหมาย. ๑. เพื่อให้ทราบความสำคัญของทะเล ๒. เพื่อให้เข้าใจความหมายของสมุททานุภาพ ๓. เพื่อให้เข้าใจถึงทฤษฎีสุททานุภาพของมาฮาน (แหล่งกำเนิดและ องค์ประกอบของสมุททานุภาพ)

kasia
Download Presentation

สมุท ทานุภาพ MARITIME POWER

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สมุททานุภาพMARITIME POWER นาวาเอก ปพน หาญไพบูลย์ รองผู้อำนวยการกองวิชาความมั่นคงและวิชาพิเศษ ฝ่ายวิชาการ

  2. ความมุ่งหมาย ๑. เพื่อให้ทราบความสำคัญของทะเล ๒. เพื่อให้เข้าใจความหมายของสมุททานุภาพ ๓. เพื่อให้เข้าใจถึงทฤษฎีสุททานุภาพของมาฮาน (แหล่งกำเนิดและ องค์ประกอบของสมุททานุภาพ) ๔. เพื่อให้เข้าใจความสัมพันธ์ของสมุททานุภาพกับยุทธศาสตร์ทะเล , ยุทธศาสตร์ชาติ, ยุทธศาสตร์ทางเรือ ๕. เพื่อให้สามารถพิจารณาสมุททานาภาพของประเทศไทยได้

  3. ความสำคัญของทะเล “Wealth and Power”

  4. แปซิฟิก 44% • แอตแลนติก 23% • อินเดีย 20% • อารค์ติก 4% • ผืนโลกแบ่งเป็น • พื้นดิน 29% • พื้นน้ำ 71%

  5. การใช้ทะเลเป็นเส้นทางขนส่งขนสคมนาคมการใช้ทะเลเป็นเส้นทางขนส่งขนสคมนาคม 1.สะดวกที่สุด 2. ขนสินค้าได้จำนวนมาก 3. ค่าใช้จ่ายต่อปริมาตรต่ำ • เรือน้ำมันขนาด ๒ แสนกว่าตัน • ถ้าใช้รถบรรทุก ๒๑ ตัน ขน ต้องใช้รถ ๑๐,๐๐๐ คัน • ใช้คนขับและเด็กรถ ๒ คน ต่อคัน = ๒๐,๐๐๐ คน • แต่……..จำนวนลูกเรือบรรทุกน้ำมัน ไม่ถึง ๕๐ คน

  6. เส้นทางการค้าขายทางเรือเส้นทางการค้าขายทางเรือ • 90% ของการค้าโลกเกิดขึ้นโดยการขนส่งทางทะเล

  7. การขนส่งทางทะเลของไทยการขนส่งทางทะเลของไทย • 95% ของการนำเข้า-ส่งออกของไทยเกิดขึ้นโดยการขนส่งทางทะเล

  8. เส้นทางการขนส่งน้ำมันเส้นทางการขนส่งน้ำมัน • 40% ผ่านทาง Strait of Hormuz • 100% สู่เอเซียตะวันออกผ่านทางช่องแคบมะละกา

  9. เส้นทางการขนส่งน้ำมันของจีนเส้นทางการขนส่งน้ำมันของจีน

  10. Global Choke Points English Channel Dardanelles Korea/Tsushima Straits Strait of Gibraltar Strait of Hormuz Suez Canal Taiwan Strait Panama Canal Strait of Malacca

  11. การใช้ทะเลเป็นแหล่งอาหารการใช้ทะเลเป็นแหล่งอาหาร เศรษฐกิจสัตว์ทะเล

  12. การใช้ทะเลเป็นทรัพยากรธรรมชาติการใช้ทะเลเป็นทรัพยากรธรรมชาติ เกลือ ทราย กรวด น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ

  13. “The global economy depends on the global security of today’s oceans, in that 99.7 percent of trade travels by sea in 46,000 vessels to 4,000 ports” “เศรษฐกิจของโลกทุกวันนี้ขึ้นกับอยู่บนความมั่นคงของมหาสมุทร ซึ่งกว่าร้อยละ ๙๙.๗ เป็นการขนส่งทางทะเลโดยผ่านทางเรือกว่า ๔๖,๐๐๐ ลำ มุ่งไปยังท่าเรือ ๔,๐๐๐ แห่งทั่วโลก” ADM. Vern Clark US.CNO,the 16th International Seapower Symposium, 27 Oct 03 , Naval War College USA

  14. ตัวอย่างอุตสาหกรรมและกิจการทีสำคัญๆทางทะเลของไทยตัวอย่างอุตสาหกรรมและกิจการทีสำคัญๆทางทะเลของไทย ่ อุตสาหกรรมการประมง อุตสาหกรรมขุดเจาะก๊าซและน้ำมัน อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ระบบพาณิชยนาวี

  15. ระบบพาณิชยนาวีของประเทศระบบพาณิชยนาวีของประเทศ 1. กิจการเดินเรือระหว่างประเทศ 2. การขนส่งชายฝั่ง 3. กิจการท่าเรือ 4. กิจการอู่เรือ 5. กิจการเกี่ยวเนื่อง ได้แก่ บริการนอกท่า ธุรกิจรับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ซึ่งรวมถึงกิจการการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ และกิจการโลจิสติกส์

  16. ความหมายของสมุททานุภาพความหมายของสมุททานุภาพ

  17. ความหมายของสมุททานุภาพความหมายของสมุททานุภาพ “ สมุททานุภาพ คือ การจัดรูปแบบของความเข้มแข็งของชาติที่ซึ่งส่งผลให้ผู้ครอบครองความเข็มแข็งนั้น สามารถส่งกำลังทหารและการพาณิชย์ก้าวข้ามทะเล มหาสมุทรซึ่งขั้นกลางระหว่างประเทศของเขา หรือ ประเทศพันธมิตรของเขา รวมถึงดินแดนที่เขาต้องการย่างกรายเข้าไประหว่างสงคราม ทั้งเพื่อที่จะป้องกันศัตรูของเขาจากการกระทำดังกล่าวอีกด้วย ” Sir Herbert Richmond

  18. ความหมายของสมุททานุภาพความหมายของสมุททานุภาพ • คือ ส่วนหนึ่งของกำลังอำนาจของชาติ • คือ ขีดความสามารถส่วนหนึ่งของชาติที่อำนวยให้ชาติได้ใช้ทะเลเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ นโยบาย และผลประโยชน์แห่งชาติ • คือ ความเป็นไปได้ที่จะใช้มหาสมุทรของโลกอย่างมีประสิทธิผลเพื่อผลประโยชน์โดยส่วนรวมของรัฐ • คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการมีอำนาจในการครองทะเล หรือ การควบคุมทะเล

  19. กำลังอำนาจแห่งชาติ-สมุททานุภาพกำลังอำนาจแห่งชาติ-สมุททานุภาพ • สมุททานุภาพเป็นกำลังอำนาจแห่งชาติทางทะเล (ที่เกี่ยวข้องกับทะเล) • ได้แก่ การใช้ทรัพยากรทางทะเล การพาณิชย์ทางทะเล การประมง กำลังรบทางเรือ (นาวิกานุภาพ) เป็นต้น National Power Sea Power

  20. ยุทธศาสตร์ทะเล ขีดจำกัดของทรัพยากร สมุททานุภาพ วัตถุประสงค์ทางทะเล สภาวะแวดล้อม ทางทะเล ความเสี่ยง

  21. สมุททานุภาพในประวัติศาสตร์สมุททานุภาพในประวัติศาสตร์ • โปรตุเกสและสเปน ได้เปิดศักราชแห่ง สมุททานุภาพยุคใหม่ ตามด้วย ฮอลันดา ฝรั่งเศส และอังกฤษ • การปฏิวัติอุตสาหกรรม ทำให้มีชาติที่มี สมุททานุภาพเพิ่มขึ้น ได้แก่ เยอรมัน ญี่ปุ่น และสหรัฐอเมริกา

  22. ทฤษฎี ที่มา และ องค์ประกอบของสมุททานุภาพ

  23. Mahan ทฤษฎีสมุททานุภาพ

  24. บิดาแห่งทฤษฎีสมุททานุภาพบิดาแห่งทฤษฎีสมุททานุภาพ อัลเฟรด เทเยอร์ มาฮาน ค.ศ. ๑๘๔๐-๑๙๑๔

  25. โลกในทัศนะของมาฮาน • มีสมมติฐานพื้นฐาน ๒ ประการที่สอดคล้องกัน คือ • ๑. การแสวงหาประโยชน์จากทะเลเป็นการต่อสู้เพื่อความอยู่รอด คนที่เข้มแข็งกว่าจะเหนือกว่าคนอื่น • ๒. วิเคราะห์ประวัติศาสตร์(ส่วนใหญ่ ค.ศ. ๑๗ และ ๑๘)ได้ถูกต้องสอดคล้องกับสถานการณ์ในปลาย ค.ศ.๑๙ และต้น ค.ศ.๒๐

  26. Age of Exploration • Portugal: Prince Henry the Navigator • Bartholomew Diaz - Cape of Good Hope - 1486 • Vasco da Gama - India - 1497 -- • Cabral - Brazil - 1500 • Spain - Large empire established in the Americas. • Columbus - Americas - 1492 • Named for Amerigo Vespucci • Magellan - Circumnavigation of the Globe - 1519-1522 • Cortez - Mexico (Aztec Empire) - 1520 • Pizarro - Peru (Inca Empire) - 1532

  27. Prince HenryofPortugal “The Navigator”

  28. Vasco de Gama

  29. ChristopherColumbus Admiral of the Ocean Seas

  30. Ferdinand Magellan

  31. Early European Colonization • อังกฤษ ฮอลแลนด์ และฝรั่งเศส เริ่มแสวงหาดินแดนใหม่ในช่วง ปลาย ค.ศ. 15 • การเริ่มต้นของยุโรปในการแสวงหาดินแดน และอาณานิคม • เพื่อสนองการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศตน • ดินแดนในแคริเบียน และลาตินอเมริกาที่ยังไม่ถูกโปรตุเกส และสเปนครอบครอง • England: ชายฝั่ง ตอ. ของอเมริกาในปัจจุบัน • France: แคนนาดา หลุยเซียน่า • Holland: นิวยอร์ค แอฟริกาใต้ และแข่งขันกับโปรตุเกสในมหาสมุทรอินเดีย

  32. Colonization and Conflict • อังกฤษ และสเปน ช่วงกลางถึงปลาย ค.ศ. 16 • การเริ่มต้นของยุโรปในการแสวงหาดินแดน และอาณานิคม • เพื่อสนองการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศตน • ดินแดนในแคริเบียน และลาตินอเมริกาที่ยังไม่ถูกโปรตุเกส และสเปนครอบครอง • England: ชายฝั่ง ตอ. ของอเมริกาในปัจจุบัน • France: แคนนาดา หลุยเซียน่า • Holland: นิวยอร์ค แอฟริกาใต้ และแข่งขันกับโปรตุเกสในมหาสมุทรอินเดีย

  33. 1588: England sends a fleet to fight the Spanish

  34. Men of War

  35. Seven Years’ War(1756-1763) • French counter-strategy • Raid British maritime commerce • Defend French Colonies • Try to invade England • Known as “French and Indian War” in America. • British Siege of Quebec - 1759. • Wolfe defeats Montcalm on the Plains of Abraham. • British defeat French at Battle of Quiberon Bay - 1759. • Peace of Paris - 1763 • Great Britain obtains Canada, U.S. East of Mississippi River to Appalachian Mts., Florida, and much of India.

  36. Seven Years’ War(1756-1763) • ความสำคัญ: • Geopolitical: Genuine world war; fought in German states, Mediterranean, Canada, West Indies, India, Africa, and Philippines. • Strategic: Classic example of conflict between land power (France) and sea power (England). • Great Britain Key to victory: • “Hitting” - Attack overseas colonies of France and Spain. • “Holding” - French battle fleet through blockade of ports. • Support continental allies: Frederick the Great of Prussia.

  37. โลกในทัศนะของมาฮาน • - ไม่มีที่ใดแม้อยู่ห่างไกลจะปราศจากการครอบครองของมนุษย์ ผู้ที่เข้มแข็งกว่าย่อมคุกคาม ครอบครองทรัพย์ของผู้ที่อ่อนแอกว่า • การคุกคามนี้เป็นแรงกดดันตามธรรมชาติ • รัฐของชาติที่มีความเจริญทางด้านการค้าต้องดำเนินการเพื่อควบคุมการค้าของตน • มาตรการขององค์กรระหว่างประเทศเพื่อจัดการความขัดแย้งอันเนื่องจากการค้าจะไม่มีผลต่อผู้ที่แข็งแรง

  38. โลกในทัศนะของมาฮาน • จุดมุ่งของการแข่งขันทางการค้าคือ การผูกขาด • การใช้กำลังทางทหารจึงอาจเกิดขึ้นได้เพื่อจัดระบบ • การจัดระบบนี้จะเป็นไปได้ง่ายเมื่อเรามีอิสระ และสามารถทำสิ่งที่เราต้องการได้ • กำลังที่จำเป็นต้องใช้ เกิดจากการใช้ประโยชน์และการจัดการผลประโยชน์ของชาติอย่างยาวนานและต่อเนื่อง • การเผชิญหน้ามักเกิดในพื้นที่แดนไกลจึงต้องใช้กำลังทางเรือซึ่งจะมีปัญหาในการติดต่อสื่อสาร

  39. “ผู้ใดสามารถครองทะเล ผู้นั้นสามารถครองโลก” อัลเฟรด ไทเยอร์ มาฮาน

  40. วัตถุประสงค์-หน้าที่ ทร. สหรัฐฯ “ป้องกันดินแดนสหรัฐฯ และขัดขวางการพาณิชยนาวีข้าศึก” “ป้องกันพาณิชยนาวีของสหรัฐฯ และทำลายสมุททานุภาพของข้าศึก” อัลเฟรด ที. มาฮาน

  41. ทฤษฎีสมุททานุภาพ 1. เศรษฐกิจที่เข้มแข็งและความมั่นคงภายในประเทศเป็นพื้นฐานกำลังอำนาจแห่งชาติ 2. การค้าต่างประเทศเป็นทางสู่ความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ 3. การค้าต่างประเทศต้องอาศัยพานิชย์นาวีและอาณานิคม 4. พานิชย์นาวีต้องมีกองทัพเรือคุ้มครอง 5. ฐานทัพเรือเป็นฐานปฏิบัติการกองทัพเรือเพื่อรักษาเส้นทางเดินเรือป้องกันอาณานิคม 6. กองทัพเรือจะต้องเข้มแข็ง เพื่อยุติข้อขัดแย้งและเป็นฝ่ายได้เปรียบ

  42. Element of Sea Power แนวความคิดเรื่องสมุททานุภาพ ตามแนวคิดของ Mahan • Mahanไม่ได้ให้ความหมายของสมุททานุภาพไว้เลย • สมุททานุภาพ ไม่ได้จำกัดอยู่เพียงกองเรือรบในการควบคุมทะเล แต่รวมถึงกองเรือพาณิชย์ที่เดินทางได้โดยเสรี ไม่มีภัยอันตราย • การขนส่ง และการเดินทาง ทางน้ำ ง่าย และ ถูก กว่าทางบกเสมอ • ทุกประเทศมีความปรารถนา ที่จะทำการพาณิชย์ทางทะเล ด้วยเรือของตนเอง เมื่อเรือออกเดินทางไป เพื่อให้เรือเดินทางออกไปได้ไกลที่สุด ก็ต้องสร้างความมั่นใจว่าท่าเรือต้องมีความปลอดภัย เพื่อรอรับ การกลับมาของเรือ

  43. องค์ประกอบอันทำให้เกิดสมุททานุภาพองค์ประกอบอันทำให้เกิดสมุททานุภาพ ตามแนวคิดของมาฮาน • ตำบลที่ทางภูมิศาสตร์ • ลักษณะทางกายภาพ • ความยาวขอบฝั่ง • จำนวนประชากร • ลักษณะประจำชาติ • ลักษณะของรัฐบาล องค์ประกอบ สมุททานุภาพ • การพาณิชยนาวี (เรือสินค้า, เรือประมง ฯลฯ) • ท่าเรือ • กำลังทางเรือ (เรือรบ เครื่องบิน เรือดำน้ำ ฯลฯ) • ฐานทัพเรือ ก่อให้เกิด การพัฒนา

  44. I. ตำบลที่ทางภูมิศาสตร์ • ว่าด้วยภูมิศาสตร์ที่เกื้อกูลต่อการเป็นศูนย์กลางการคมนาคมทางทะเล การป้องกันประเทศ และการขยายอาณาบริเวณทางทะเล

  45. เช่น สิงคโปร์ ตั้งอยู่บนเส้นทางการคมนาคมหลัก สามารถใช้ความได้เปรียบทางด้านที่ตั้งภูมิศาสตร์ในการสร้างประเทศให้เป็นศูนย์กลางการค้าทางทะเล

  46. เช่น อังกฤษใช้ลักษณะการรวมกำลังทางตอนใต้ของประเทศ • แต่ฝรั่งเศส มีชายฝั่งทะเล ๒ ด้าน การรวมกำลังจึงกระทำได้ยาก ทำได้กรณีเดียวคือ ผ่านช่องแคบยิบรอลต้า ด้วยเหตุนี้บางครั้งก็มีความเสี่ยงที่จะสูญเสีย อีกทั้งค่าใช้จ่ายสูง

  47. II.ลักษณะทางกายภาพ ลักษณะของขอบฝั่ง แม่น้ำ กระแสน้ำ มีผลต่อการพัฒนาท่าเรือ และกำลังทางเรือในการป้องกันประเทศ จึงเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อการพัฒนาสมุททานุภาพ ประเทศที่มีอ่าวลึก ระดับน้ำลึก แม่น้ำทางออกสู่ทะเลกว้างและร่องน้ำลึกเพียงพอ มีแนวขวางกั้นคลื่นลมย่อมมีศักยภาพในการที่จะพัฒนาเป็นท่าเรือที่ดี

  48. ความสอดคล้องทางกายภาพความสอดคล้องทางกายภาพ • ท่าเรือลึกเพียงพอ ถือเป็นจุดแข็งและสร้างความมั่งคั่ง และจะยิ่งทวีเป็น ๒ เท่า หากอยู่บริเวณปากทางผ่านของเส้นทางเดินเรือ แต่เป็นจุดอ่อนในยามสงคราม หากป้องกันไม่ดี เช่น สิงคโปร์ ช่องแคบยิบรอลต้า

  49. ฝรั่งเศสมีท่าเรือที่ดีทั้งสองด้าน มีแม่น้ำขนาดใหญ่เกื้อกูลการขนส่งภายใน แต่มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ผลิตได้มากกว่าที่ประชากรต้องการ (home living) • ตรงข้ามกับอังกฤษที่ผลผลิตได้น้อยกว่าความต้องการประชากร จึงต้องออกนอกประเทศแสวงหา

  50. สหรัฐฯ มีชายฝั่งติดต่อทะเลถึง ๒ ด้าน เช่นเดียวกับฝรั่งเศส ทำให้ต้องทุ่มทุน มหาศาลในการพัฒนาการพาณิชย์นาวีทั้ง ๒ ด้าน 17 Strategic Seaports TACOMA NEW YORK/NEW JERSEY NWS CONCORD BAYONNE HAMPTON ROADS MOREHEAD CITY WILMINGTON SUNNY POINT CHARLESTON OAKLAND SAVANNAH PORT HUENEME SAN DIEGO BEAUMONT JACKSONVILLE LONG BEACH CORPUS CHRISTI

More Related